มาทำความรู้จักกับเห็ดโต่งฝนกันเถอะ / ธนภักษ์ อินยอด และคนอื่นๆ

Contributor(s): ธนภักษ์ อินยอดMaterial type: ArticleArticleSubject(s): FOOD59M01 | เห็ดโต่งฝน -- ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ | เห็ดโต่งฝน -- แง่โภชนาการ | เห็ดโต่งฝน -- การใช้ประโยชน์ In: วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 30, 1 (ม.ค.-มี.ค. 2558) 57-58Summary: เห็ดโต่งฝน มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Lentinus gigeatus คำว่า โต่งฝน หรือ ต่งฝน เป็นภาษาอีสาน แปลว่า ภาชนะรองรับน้ำฝน ลักษณะดอกเห็ดเมื่อเล็กคล้ายถ้วยหรือกรวย เมื่อดอกโตเต็มที่ขอบดอกจะหยักและม้วนขึ้น มีลักษณะดอกคล้ายเห็ดเป๋าฮื้อ หมวกดอกทรงร่มสีครีม จากการวิเคราะห์ปริมาณสารอาหารในเห็ดโต่งฝน พบว่า มีคุณค่าทางโภชนาการสูง มีส่วนประกอบของโปรตีน 16.06 กรัม คาร์โบไฮเดรต 56.12 กรัม ไขมัน 1.28 กรัม มีฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม และโซเดียม 0.53 1.64 0.16 และ 0.1 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมของเห็ดแห้ง ตามลำดับ มีธาตุเหล็ก แมงกานีส และสังกะสี 93.29 11.08 และ 23.32 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมของเห็ดแห้ง ตามลำดับ เห็ดโต่งฝน นำไปประกอบอาหารได้หลายประเภท เช่น ต้มยำ แกงเลียง ผัดผักรวม เห็ดชุบแป้งทอด.
No physical items for this record

YJ2016 M05

เห็ดโต่งฝน มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Lentinus gigeatus คำว่า โต่งฝน หรือ ต่งฝน เป็นภาษาอีสาน แปลว่า ภาชนะรองรับน้ำฝน ลักษณะดอกเห็ดเมื่อเล็กคล้ายถ้วยหรือกรวย เมื่อดอกโตเต็มที่ขอบดอกจะหยักและม้วนขึ้น มีลักษณะดอกคล้ายเห็ดเป๋าฮื้อ หมวกดอกทรงร่มสีครีม จากการวิเคราะห์ปริมาณสารอาหารในเห็ดโต่งฝน พบว่า มีคุณค่าทางโภชนาการสูง มีส่วนประกอบของโปรตีน 16.06 กรัม คาร์โบไฮเดรต 56.12 กรัม ไขมัน 1.28 กรัม มีฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม และโซเดียม 0.53 1.64 0.16 และ 0.1 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมของเห็ดแห้ง ตามลำดับ มีธาตุเหล็ก แมงกานีส และสังกะสี 93.29 11.08 และ 23.32 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมของเห็ดแห้ง ตามลำดับ เห็ดโต่งฝน นำไปประกอบอาหารได้หลายประเภท เช่น ต้มยำ แกงเลียง ผัดผักรวม เห็ดชุบแป้งทอด.

There are no comments on this title.

to post a comment.