ชิม ลด หลีก เลือก "เค็ม" ด้วยตนเอง

Material type: ArticleArticleSubject(s): FOOD62M03 | อาหารเค็ม -- แง่อนามัย In: หมอชาวบ้าน 40, 469 (พ.ค. 2561) 58Summary: ปัจจุบันมีเครื่องปรุงรส เช่น ซีอิ๊ว ผงปรุงรส ผงชูรส รวมถึงอาหารกึ่งสำเร็จรูป เช่น บะหมี่ โจ๊กกึ่งสำเร็จรูป ปลากระป๋อง ขนมกรุบกรอบ ล้วนมีเกลือโซเดียม เป็นส่วนประกอบ โดยคนไทยบริโภคเกลือโซเดียมโดยเฉลี่ย 4,351.70 มิลลิกรัมต่อวัน หรือมากกว่า 2 ช้อนชา เกินกว่าปริมาณที่องค์การอนามัยโลกแนะนำ คือ 2,000 มิลลิกรัม หรือ 1 ช้อนชา ต่อวัน ซึ่งการบริโภคอาหารที่มีรสเค็มอย่างต่อเนื่อง เป็นปัจจัยเสี่ยง อันดับ 2 ที่ทำให้เกิดภาวะความดันโลหิตสูง นำไปสู่โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่นโรคไต หัวใจ เบาหวาน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบริโภค ลดหวาน มัน เค็ม จะช่วยป้องกันโรคดังกล่าวได้.
No physical items for this record

YJ2019 M04

ปัจจุบันมีเครื่องปรุงรส เช่น ซีอิ๊ว ผงปรุงรส ผงชูรส รวมถึงอาหารกึ่งสำเร็จรูป เช่น บะหมี่ โจ๊กกึ่งสำเร็จรูป ปลากระป๋อง ขนมกรุบกรอบ ล้วนมีเกลือโซเดียม เป็นส่วนประกอบ โดยคนไทยบริโภคเกลือโซเดียมโดยเฉลี่ย 4,351.70 มิลลิกรัมต่อวัน หรือมากกว่า 2 ช้อนชา เกินกว่าปริมาณที่องค์การอนามัยโลกแนะนำ คือ 2,000 มิลลิกรัม หรือ 1 ช้อนชา ต่อวัน ซึ่งการบริโภคอาหารที่มีรสเค็มอย่างต่อเนื่อง เป็นปัจจัยเสี่ยง อันดับ 2 ที่ทำให้เกิดภาวะความดันโลหิตสูง นำไปสู่โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่นโรคไต หัวใจ เบาหวาน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบริโภค ลดหวาน มัน เค็ม จะช่วยป้องกันโรคดังกล่าวได้.

There are no comments on this title.

to post a comment.