การศึกษาประสิทธิภาพในการต้านอนุมูลอิสระจากพืชผักสมุนไพรพื้นบ้าน 15 ชนิด / เอนก หาลี และบุณยกฤต รัตนพันธุ์.

By: เอนก หาลีContributor(s): บุณยกฤต รัตนพันธุ์Material type: ArticleArticleSubject(s): FOOD61M03 | สารต้านอนุมูลอิสระ | สมุนไพร In: วารสารวิจัยแลพัฒนา มจธ 40, 2 (เม.ย.-มิ.ย.2560) 283-293Summary: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณสารประกอบฟีนอลิกและประสิทธิภาพในการต้านอนุมูลอิสระของ สมุนไพรพื้นบ้าน ซึ่งใช้พืชสมุนไพรที่หาซื้อได้ในเขตตำ บลนครชุม อำ เภอเมือง จังหวัดกำ แพงเพชร เพื่อเป็นแนวทาง ในการคัดเลือกสมุนไพรที่มีประสิทธิภาพในการต้านอนุมูลอิสระที่ดีมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม ทั้งนี้ ทำการศึกษาประสิทธิภาพในการต้านอนุมูลอิสระโดย 3 เทคนิคคือ ABTS DPPH และ FRAP รวมถึงศึกษาปริมาณ สารประกอบฟีนอลิกและฟลาโวนอยด์สมุนไพรที่ใช้ในการทดลองได้แก่ อัญชัน ขมิ้น ใบเตย มะรุม กระเจี๊ยบ โหระพา สะระแหน่ มะตูม ข่า ขิง มะขาม กะเพรา ตะไคร้แมงลักและมะนาว ผลการศึกษาพบว่า กระเจี๊ยบมีประสิทธิภาพใน การต้านอนุมูลอิสระสูงกว่าสมุนไพรชนิดอื่น โดยเฉพาะ DPPH ที่มีค่าสูงที่สุดคือ 21.21 µmol Trolox equivalents/g สมุนไพรชนิดอื่นมีค่าอยู่ในช่วง 0.39-17.62 µmol Trolox/g นอกจากนี้ยังมีปริมาณสารประกอบฟีนอลิกที่สุดคือ 4.83 mg of gallic acid/g สมุนไพรชนิดอื่นมีค่าอยู่ในช่วง 0.42-4.80 mg of gallic acid/g ส่วนฟลาโวนอยด์นั้น อัญชัน และกระเจี๊ยบมีปริมาณฟลาโวนอยด์สูงใกล้เคียงกันคือ 8.65 และ 7.96 mg of catechin/g ตามลำดับ.
No physical items for this record

YJ2018 M03

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณสารประกอบฟีนอลิกและประสิทธิภาพในการต้านอนุมูลอิสระของ สมุนไพรพื้นบ้าน ซึ่งใช้พืชสมุนไพรที่หาซื้อได้ในเขตตำ บลนครชุม อำ เภอเมือง จังหวัดกำ แพงเพชร เพื่อเป็นแนวทาง ในการคัดเลือกสมุนไพรที่มีประสิทธิภาพในการต้านอนุมูลอิสระที่ดีมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม ทั้งนี้ ทำการศึกษาประสิทธิภาพในการต้านอนุมูลอิสระโดย 3 เทคนิคคือ ABTS DPPH และ FRAP รวมถึงศึกษาปริมาณ สารประกอบฟีนอลิกและฟลาโวนอยด์สมุนไพรที่ใช้ในการทดลองได้แก่ อัญชัน ขมิ้น ใบเตย มะรุม กระเจี๊ยบ โหระพา สะระแหน่ มะตูม ข่า ขิง มะขาม กะเพรา ตะไคร้แมงลักและมะนาว ผลการศึกษาพบว่า กระเจี๊ยบมีประสิทธิภาพใน การต้านอนุมูลอิสระสูงกว่าสมุนไพรชนิดอื่น โดยเฉพาะ DPPH ที่มีค่าสูงที่สุดคือ 21.21 µmol Trolox equivalents/g สมุนไพรชนิดอื่นมีค่าอยู่ในช่วง 0.39-17.62 µmol Trolox/g นอกจากนี้ยังมีปริมาณสารประกอบฟีนอลิกที่สุดคือ 4.83 mg of gallic acid/g สมุนไพรชนิดอื่นมีค่าอยู่ในช่วง 0.42-4.80 mg of gallic acid/g ส่วนฟลาโวนอยด์นั้น อัญชัน และกระเจี๊ยบมีปริมาณฟลาโวนอยด์สูงใกล้เคียงกันคือ 8.65 และ 7.96 mg of catechin/g ตามลำดับ.

There are no comments on this title.

to post a comment.