วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) : ความเสี่ยงด้านฮาลาลที่ไม่ควรมองข้าม / กุณฑิรา สาแล และ นารีญา วาเล๊าะ.

By: กุณฑิรา สาแลContributor(s): นารีญา วาเล๊าะMaterial type: ArticleArticleSubject(s): FOOD63M06 | วัตถุเจือปนในอาหาร | อาหาร -- การเจือปนและการตรวจสอบ | การปนเปื้อนในอาหาร | อาหาร In: HALAL INSIGHT ISSUE 31 (Fed. 2020) 8-9Summary: วัตถุเจือปนอาหาร (Food additive) คือ สารประกอบใด ๆ ที่เติมลงในอาหารเพื่อวัตถุประสงค์ต่าง ๆ กัน ซึ่งจัดอยู่ในฐานข้อมูลที่เรียกว่า E-Number โดยจำแนกออกเป็นหมวดหมู่ตามรหัส ได้แก่ สารสี (Colors) สารกันเสีย (Preservatives) สารต้านออกซิเดชัน (Antioxidants) สารควบคุมกรด (Acidic regulators) สารเพิ่มความหนืด (Thickeners) สารเพิ่มความคงตัว (Stabilizers) สารอิมัลซิไฟเออร์ (Emulsifiers) สารเพิ่มกลิ่นและรสชาติ (Flavour enhancers) และสารฆ่าเชื้อ (Antibiotics) เป็นต้น E-Number กำหนดโดยสหภาพยุโรปว่ามีความปลอดภัยสามารถใช้ในอุตสาหกรรมทั่วไปได้แต่ทางด้านฮาลาลจำเป็นต้องมีการตรวจสอบสถานภาพของวัตถุดิบ จึงมีการคิดค้นระบบ H-Number (Halal numbers) โดยอ้างอิงระบบ E-Number เพื่อให้ผู้ประกอบการ ผู้ตรวจรับรองฮาลาล และผู้บริโภคสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว วัตถุเจือปนอาหารที่พบได้ในชีวิตประจำวัน ยกตัวอย่าง สีคาร์มีน (Carmine : E120) ซึ่งเป็นสีที่ได้จากแมลงในทางศาสนาอิสลามแนะนำให้หลีกเลี่ยงโดยให้ใช้สารตัวอื่น เช่น สีคาร์โมอิซิน (Carmoisine : E-122) ซึ่งได้จากการสังเคราะห์ทางเคมี เคอร์คูมิน (Curcumin-E100) สีผสมอาหารจากขมิ้น ให้สีเหลืองส้ม ได้มาจากการสกัดขมิ้น โดยการสกัดจากพืชได้รับอนุญาตจากสำนักจุฬาราชมนตรีให้ใช้ได้.
No physical items for this record

YJ2020 M05

วัตถุเจือปนอาหาร (Food additive) คือ สารประกอบใด ๆ ที่เติมลงในอาหารเพื่อวัตถุประสงค์ต่าง ๆ กัน ซึ่งจัดอยู่ในฐานข้อมูลที่เรียกว่า E-Number โดยจำแนกออกเป็นหมวดหมู่ตามรหัส ได้แก่ สารสี (Colors) สารกันเสีย (Preservatives) สารต้านออกซิเดชัน (Antioxidants) สารควบคุมกรด (Acidic regulators) สารเพิ่มความหนืด (Thickeners) สารเพิ่มความคงตัว (Stabilizers) สารอิมัลซิไฟเออร์ (Emulsifiers) สารเพิ่มกลิ่นและรสชาติ (Flavour enhancers) และสารฆ่าเชื้อ (Antibiotics) เป็นต้น E-Number กำหนดโดยสหภาพยุโรปว่ามีความปลอดภัยสามารถใช้ในอุตสาหกรรมทั่วไปได้แต่ทางด้านฮาลาลจำเป็นต้องมีการตรวจสอบสถานภาพของวัตถุดิบ จึงมีการคิดค้นระบบ H-Number (Halal numbers) โดยอ้างอิงระบบ E-Number เพื่อให้ผู้ประกอบการ ผู้ตรวจรับรองฮาลาล และผู้บริโภคสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว วัตถุเจือปนอาหารที่พบได้ในชีวิตประจำวัน ยกตัวอย่าง สีคาร์มีน (Carmine : E120) ซึ่งเป็นสีที่ได้จากแมลงในทางศาสนาอิสลามแนะนำให้หลีกเลี่ยงโดยให้ใช้สารตัวอื่น เช่น สีคาร์โมอิซิน (Carmoisine : E-122) ซึ่งได้จากการสังเคราะห์ทางเคมี เคอร์คูมิน (Curcumin-E100) สีผสมอาหารจากขมิ้น ให้สีเหลืองส้ม ได้มาจากการสกัดขมิ้น โดยการสกัดจากพืชได้รับอนุญาตจากสำนักจุฬาราชมนตรีให้ใช้ได้.

There are no comments on this title.

to post a comment.