ดอกงิ้วแดง มีที่มาสู่อาหารและยาพื้นบ้าน / อดุลย์ศักดิ์ ไชยราช.

By: อดุลย์ศักดิ์ ไชยราชMaterial type: ArticleArticleSubject(s): FOOD63M06 | งิ้ว (พืช) | งิ้ว (พืช) -- สรรพคุณทางยา | อาหาร | งิ้ว (พืช) -- แง่โภชนาการ In: เทคโนโลยีชาวบ้าน 32, 713 (15 ก.พ. 2563) 107Summary: ดอกงิ้วเป็นผลผลิตจากต้นงิ้ว มี 2-3 สี คือ สีเหลือง สีส้ม และสีแดง ส่วนที่นำมาประกอบอาหาร คือ ก้านเกสรตัวผู้ ซึ่งต้องเด็ดเปลือกและกลีบรองดอกออกขณะยังสดอยู่ นำมาตากแดดให้แห้ง ห่อกระดาษหรือภาชนะที่มีฝาปิด เก็บไว้ในอุณหภูมิปกติได้นานหนึ่งปี คุณค่าทางอาหารดอกงิ้ว 100 กรัม มีแคลเซียม 429 มิลลิกรัม มากกว่านมวัว 3 เท่า ในภาคเหนือนิยมนำเกรสตัวผู้แห้งมาประกอบอาหาร โดยใช้ทำ น้ำเงี้ยว ใช้แต่งสีแกงส้ม แกงกะหรี่ ส่วนเกสรสดลวกรับประทานกับน้ำพริกหรือใส่ในแกงส้ม ผสมข้าวโพดทำขนมได้ ดอกงิ้วมีสรรพคุณแก้พิษไข้ ระงับประสาท ระงับปวด แก้กระหายน้ำ แก้น้ำร้อนลวก แก้ท้องเสีย ขับปัสสาวะได้.
No physical items for this record

YJ2020 M05

ดอกงิ้วเป็นผลผลิตจากต้นงิ้ว มี 2-3 สี คือ สีเหลือง สีส้ม และสีแดง ส่วนที่นำมาประกอบอาหาร คือ ก้านเกสรตัวผู้ ซึ่งต้องเด็ดเปลือกและกลีบรองดอกออกขณะยังสดอยู่ นำมาตากแดดให้แห้ง ห่อกระดาษหรือภาชนะที่มีฝาปิด เก็บไว้ในอุณหภูมิปกติได้นานหนึ่งปี คุณค่าทางอาหารดอกงิ้ว 100 กรัม มีแคลเซียม 429 มิลลิกรัม มากกว่านมวัว 3 เท่า ในภาคเหนือนิยมนำเกรสตัวผู้แห้งมาประกอบอาหาร โดยใช้ทำ น้ำเงี้ยว ใช้แต่งสีแกงส้ม แกงกะหรี่ ส่วนเกสรสดลวกรับประทานกับน้ำพริกหรือใส่ในแกงส้ม ผสมข้าวโพดทำขนมได้ ดอกงิ้วมีสรรพคุณแก้พิษไข้ ระงับประสาท ระงับปวด แก้กระหายน้ำ แก้น้ำร้อนลวก แก้ท้องเสีย ขับปัสสาวะได้.

There are no comments on this title.

to post a comment.
Share