การพัฒนาลักษณะสัมผัสในปากด้วยศาสตร์การเคลื่อนไหว / Kartik S. Pondicherry.

By: Pondicherry, Kartik SContributor(s): ภาสกร วุนวิริยะกิจ, แปลMaterial type: ArticleArticleSubject(s): FOOD63M11 | อาหาร | อาหาร -- วิจัย | รสชาติ | กลิ่น In: FOOD FOCUS THAILAND  14, 163 (ต.ค. 2562) 50-51Summary: การรับรู้รสชาติอาหารและเครื่องดื่มของมนุษย์ ประกอบด้วยปัจจัยกระตุ้นประสาทสัมผัสต่างๆ ทั้งในด้านการมองเห็น การดมกลิ่น และการรับรส เมื่อรับประทานอาหารและเครื่องดื่มผ่านการบดเคี้ยวทางช่องปาก จะมีความแตกต่างทางกายภาพ เช่น รสสัมผัสแบบครีม ความข้น ความนุ่ม เป็นต้น ลักษณะรสสัมผัสเหล่านี้เกี่ยวข้องกับคุณสมบัติทางกายภาพและคุณสมบัติเชิงรีโอโลยีของอาหารทั้งรูปแบบเหลว แข็ง และกึ่งเหลว จึงนำเสนอการประยุกต์ใช้ไตรโบโลยี (Tribology) ในงานวิจัยอาหารและเครื่องดื่ม ไตรโบโลยีเป็นศาสตร์สำคัญของอุตสาหกรรมการผลิต การเคลื่อนไหวเชิงสัมพัทธ์ และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างพื้นผิวโดยประยุกต์หลักการเสียดทาน การหล่อลื่น และการสึกหรอ เพื่อนำมาอธิบายและสร้างความรู้ความเข้าใจการรับรู้รสผ่านลิ้นและต่อมรับรสเมื่อสัมผัสอาหาร.
No physical items for this record

YJ2020 M12

การรับรู้รสชาติอาหารและเครื่องดื่มของมนุษย์ ประกอบด้วยปัจจัยกระตุ้นประสาทสัมผัสต่างๆ ทั้งในด้านการมองเห็น การดมกลิ่น และการรับรส เมื่อรับประทานอาหารและเครื่องดื่มผ่านการบดเคี้ยวทางช่องปาก จะมีความแตกต่างทางกายภาพ เช่น รสสัมผัสแบบครีม ความข้น ความนุ่ม เป็นต้น ลักษณะรสสัมผัสเหล่านี้เกี่ยวข้องกับคุณสมบัติทางกายภาพและคุณสมบัติเชิงรีโอโลยีของอาหารทั้งรูปแบบเหลว แข็ง และกึ่งเหลว จึงนำเสนอการประยุกต์ใช้ไตรโบโลยี (Tribology) ในงานวิจัยอาหารและเครื่องดื่ม ไตรโบโลยีเป็นศาสตร์สำคัญของอุตสาหกรรมการผลิต การเคลื่อนไหวเชิงสัมพัทธ์ และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างพื้นผิวโดยประยุกต์หลักการเสียดทาน การหล่อลื่น และการสึกหรอ เพื่อนำมาอธิบายและสร้างความรู้ความเข้าใจการรับรู้รสผ่านลิ้นและต่อมรับรสเมื่อสัมผัสอาหาร.

There are no comments on this title.

to post a comment.