การเสริมความเค็มด้วยกลิ่นเพื่อลดโซเดียมในอาหาร Odour-induced saltiness enhancement (OISE) for sodium reduction in foods [Electronic resource] / กรคณา ธนารุ่งโรจน์ และวรภา คงเป็นสุข.

By: กรคณา ธนารุ่งโรจน์Contributor(s): วรภา คงเป็นสุขMaterial type: ArticleArticleSubject(s): จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิทยาศาสตร์ -- วิจัย | FOOD64M01 | อาหาร | กลิ่นรส | โซเดียม | เกลือ | ความเค็ม | อาหาร -- ปริมาณโซเดียมOnline resources: Click here to access online In: วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม 16, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2564) 1-9Summary: จากการสำรวจขององค์การอนามัยโลกพบว่า ประชากรทั่วโลกบริโภคโซเดียมโดยเฉลี่ยมากถึงเกือบ 2 เท่าของปริมาณที่แนะนำต่อวัน ส่งผลให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังต่างๆ แต่อย่างไรก็ตาม การลดปริมาณเกลือในสูตรอาหารส่งผลต่อการยอมรับของผู้บริโภคอย่างมาก เนื่องจากอาหารมีสมบัติทางประสาทสัมผัสที่แตกต่างไปจากเดิม จึงจำเป็นต้องศึกษาวิธีต่างๆ เพื่อลดปริมาณโซเดียมในอาหารลงโดยไม่ส่งผลกระทบต่อการยอมรับของผู้บริโภค โดยในบทความนี้จะกล่าวถึงการเสริมความเค็มด้วยกลิ่น หรือ Odour-Induced Saltiness Enhancement (OISE) ที่เป็นการเติมกลิ่นที่มีความสัมพันธ์หรือเกี่ยวข้องกับรสเค็ม เพื่อเพิ่มความเค็มโดยรวมให้กับอาหาร อย่างไรก็ตาม มีปัจจัยหลากหลายที่มีผลต่อวิธีดังกล่าว เช่น ชนิด และความเข้มข้นของกลิ่น ปริมาณเกลือหรือความเข้มของรสเค็มในอาหารก่อนเติมกลิ่น องค์ประกอบอื่นในอาหารรวมถึงการฝึกฝน และประสบการณ์ของผู้ทดสอบ ดังนั้นการศึกษาด้าน OISE จึงมีความน่าสนใจ และเป็นประโยชน์ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารลดปริมาณโซเดียม
No physical items for this record

YJ2021 M02

จากการสำรวจขององค์การอนามัยโลกพบว่า ประชากรทั่วโลกบริโภคโซเดียมโดยเฉลี่ยมากถึงเกือบ 2 เท่าของปริมาณที่แนะนำต่อวัน ส่งผลให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังต่างๆ แต่อย่างไรก็ตาม การลดปริมาณเกลือในสูตรอาหารส่งผลต่อการยอมรับของผู้บริโภคอย่างมาก เนื่องจากอาหารมีสมบัติทางประสาทสัมผัสที่แตกต่างไปจากเดิม จึงจำเป็นต้องศึกษาวิธีต่างๆ เพื่อลดปริมาณโซเดียมในอาหารลงโดยไม่ส่งผลกระทบต่อการยอมรับของผู้บริโภค โดยในบทความนี้จะกล่าวถึงการเสริมความเค็มด้วยกลิ่น หรือ Odour-Induced Saltiness Enhancement (OISE) ที่เป็นการเติมกลิ่นที่มีความสัมพันธ์หรือเกี่ยวข้องกับรสเค็ม เพื่อเพิ่มความเค็มโดยรวมให้กับอาหาร อย่างไรก็ตาม มีปัจจัยหลากหลายที่มีผลต่อวิธีดังกล่าว เช่น ชนิด และความเข้มข้นของกลิ่น ปริมาณเกลือหรือความเข้มของรสเค็มในอาหารก่อนเติมกลิ่น องค์ประกอบอื่นในอาหารรวมถึงการฝึกฝน และประสบการณ์ของผู้ทดสอบ ดังนั้นการศึกษาด้าน OISE จึงมีความน่าสนใจ และเป็นประโยชน์ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารลดปริมาณโซเดียม

There are no comments on this title.

to post a comment.