แคลเซียมจากผัก [Electronic resource] / วาสนา นาราศรี.

By: วาสนา นาราศรีMaterial type: ArticleArticleSubject(s): มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร | FOOD64M05 | ผัก | แคลเซียมOnline resources: Click here to access online In: วารสารอาหาร 51, 1 (ม.ค.-มี.ค. 2564) 40-43Summary: แคลเซียมเป็นแร่ธาตุที่มีมากที่สุดในร่างกาย มีหน้าที่สำคัญในการเพิ่มความหนาแน่นให้กับกระดูกและฟันมีความแข็งแรง อีกทั้งยังช่วยกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์หลายชนิด การแข็งตัวของเม็ดเลือด ร่างกายจึงควรได้รับแคลเซียมในปริมาณที่เหมาะสมต่อวัน และปริมาณสูงสุดที่ได้รับ ซึ่งขึ้นอยู่กับเพศ อายุและกิจกรรมของชีวิต เช่น ผู้ที่อยู่ในช่วงวัยทำงาน ควรได้รับแคลเซียม 800 มิลลิกรัมต่อวัน แหล่งของแคลเซียมพบได้ในนม ผลิตภัณฑ์จากนม ถั่วเมล็ดแห้ง งา กุ้งแห้ง ปลาตัวเล็ก นอกจากนี้ยังพบว่า ผักหลายชนิดที่มีแคลเซียมสูง เช่น คะน้า ตำลึง กวางตุ้ง ขี้เหล็ก ถั่วพู บัวบก ผักแคลหรือคะน้าใบหยัก นอกจากเป็นแหล่งของแคลเซียมยังพบว่ามีออกซาเลตสูง ซึ่งออกซาเลตมีผลต่อการยับยั้งการดูดซึมแคลเซียมของร่างกาย ดังนั้นผักที่มีออกซาเลตสูงจึงไม่ควรรับประทานมากเกินไป และควรนำไปทำให้สุกเพื่อลดปริมาณออกซาเลตลง.
No physical items for this record

20210505

แคลเซียมเป็นแร่ธาตุที่มีมากที่สุดในร่างกาย มีหน้าที่สำคัญในการเพิ่มความหนาแน่นให้กับกระดูกและฟันมีความแข็งแรง อีกทั้งยังช่วยกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์หลายชนิด การแข็งตัวของเม็ดเลือด ร่างกายจึงควรได้รับแคลเซียมในปริมาณที่เหมาะสมต่อวัน และปริมาณสูงสุดที่ได้รับ ซึ่งขึ้นอยู่กับเพศ อายุและกิจกรรมของชีวิต เช่น ผู้ที่อยู่ในช่วงวัยทำงาน ควรได้รับแคลเซียม 800 มิลลิกรัมต่อวัน แหล่งของแคลเซียมพบได้ในนม ผลิตภัณฑ์จากนม ถั่วเมล็ดแห้ง งา กุ้งแห้ง ปลาตัวเล็ก นอกจากนี้ยังพบว่า ผักหลายชนิดที่มีแคลเซียมสูง เช่น คะน้า ตำลึง กวางตุ้ง ขี้เหล็ก ถั่วพู บัวบก ผักแคลหรือคะน้าใบหยัก นอกจากเป็นแหล่งของแคลเซียมยังพบว่ามีออกซาเลตสูง ซึ่งออกซาเลตมีผลต่อการยับยั้งการดูดซึมแคลเซียมของร่างกาย ดังนั้นผักที่มีออกซาเลตสูงจึงไม่ควรรับประทานมากเกินไป และควรนำไปทำให้สุกเพื่อลดปริมาณออกซาเลตลง.

There are no comments on this title.

to post a comment.