เงินทอง คือมายา ข้าวปลา คือหลอดแก้ว / กรรณิกา เพชรแก้ว.

By: กรรณิกา เพชรแก้วMaterial type: ArticleArticleSubject(s): FOOD63M05 | การเพาะเลี้ยงเซลล์ | การเพาะเลี้ยงเซลล์ -- อาหาร In: เทคโนโลยีชาวบ้าน 32, 707 (15 พ.ย. 2562) 94-95Summary: การเพาะปลูกอาศัยทรัพยากรทั้งปุ๋ย สารเคมี ยารักษาโรค อาหาร น้ำ เพื่อให้ได้ผลผลิตมาเป็นอาหาร เช่นเดียวกับการเลี้ยงสัตว์ที่ต้องอาศัยทรัพยากรจำนวนมากและปล่อยทิ้งของเสียมหาศาล การผลิตอาหารในห้องทดลองหรือในหลอดแก้วเป็นทางออกหนึ่งที่นักวิทยาศาสตร์และนักโภชนาการให้ความสนใจที่จะนำมาใช้ วิธีการคือการเพาะเลี้ยงเซลล์หรือเนื้อเยื่อในหลอดแก้ว ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ในเนเธอร์แลนด์ประกาศความสำเร็จการเพาะเลี้ยงเนื้อแกะในห้องทดลอง โดยใช้โปรตีนกว่า 20,000 สายพันธุ์ ใช้เวลา 8 สัปดาห์ กลายเป็นเนื้อแกะชิ้นเท่าที่ใส่ในแฮมเบอร์เกอร์ การผลิตแบบนี้คาดว่าจะลดการใช้ทรัพยากรลง 78-96เปอร์เซ็นต์ และไม่ต้องใช้พื้นที่มหาศาลในการผลิต เพียงแค่ใช้สเต็มเซลล์ของสัตว์แต่ละชนิดมาเพาะเลี้ยงให้อาหาร คาดว่าจะวางตลาดอย่างแพร่หลายภายใน 5 ปี.
No physical items for this record

YJ2020 M02

การเพาะปลูกอาศัยทรัพยากรทั้งปุ๋ย สารเคมี ยารักษาโรค อาหาร น้ำ เพื่อให้ได้ผลผลิตมาเป็นอาหาร เช่นเดียวกับการเลี้ยงสัตว์ที่ต้องอาศัยทรัพยากรจำนวนมากและปล่อยทิ้งของเสียมหาศาล การผลิตอาหารในห้องทดลองหรือในหลอดแก้วเป็นทางออกหนึ่งที่นักวิทยาศาสตร์และนักโภชนาการให้ความสนใจที่จะนำมาใช้ วิธีการคือการเพาะเลี้ยงเซลล์หรือเนื้อเยื่อในหลอดแก้ว ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ในเนเธอร์แลนด์ประกาศความสำเร็จการเพาะเลี้ยงเนื้อแกะในห้องทดลอง โดยใช้โปรตีนกว่า 20,000 สายพันธุ์ ใช้เวลา 8 สัปดาห์ กลายเป็นเนื้อแกะชิ้นเท่าที่ใส่ในแฮมเบอร์เกอร์ การผลิตแบบนี้คาดว่าจะลดการใช้ทรัพยากรลง 78-96เปอร์เซ็นต์ และไม่ต้องใช้พื้นที่มหาศาลในการผลิต เพียงแค่ใช้สเต็มเซลล์ของสัตว์แต่ละชนิดมาเพาะเลี้ยงให้อาหาร คาดว่าจะวางตลาดอย่างแพร่หลายภายใน 5 ปี.

There are no comments on this title.

to post a comment.