มะเดื่อชุมพร พันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคล จังหวัดชุมพร / วรรณา กัลยาณะวงศ์ ณ อยุธยา

By: วรรณา กัลยาณะวงศ์ ณ อยุธยาMaterial type: ArticleArticleSubject(s): FOOD56M10 | มะเดื่อ -- ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ | มะเดื่อ -- สรรพคุณทางยา In: เทคโนโลยีชาวบ้าน 25, 542 (ม.ค. 2556) 28, 30Summary: มะเดื่อชุมพรเป็นพันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลแก่จังหวัดชุมพร มะเดื่อชุมพร มะเดื่ออุทุมพร มะเดื่อป่า มะเดื่อไทย เป็นมะเดื่อชนิดเดียวกัน อยู่ในสกุลเดียวกับโพธิ์ไทร กร่าง ผลมะเดื่อมีสารอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายหลายชนิดเช่น แคลเซียม ฟอสฟอรัส ธาตุเหล็ก โปรตีน วิตามินเอ วิตามินบี1 บี2 วิตามินซี ไนอะซิน คาร์โบไฮเดรต มะเดื่อนอกจากจะกินเป็นผลไม้สดแล้ว ยังสามารถนำไปใช้ทำขนม เช่น พาย พุดดิ้ง เค้ก ไอศกรีม แยม อบแห้ง ผสมในชาไข่มุก ใส่ขนมแทนลูกเกด ผลแห้งนำไปคั่ว แล้วป่นใช้แทนกาแฟได้ การศึกษาทางเภสัชวิทยาพบว่ามะเดื่อมีฤทธิ์ลดการอักเสบ แก้ปวด ลดไข้ ต้านเชื้อแบคทีเรีย ต้านเชื้อไวรัส คลายการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ ลดน้ำตาลในเลือด ป้องกันไม่ให้ตับถูกทำลายโดยสารพิษได้.Summary: The Chumporn fig is a royally given tree for propitious growing to Chumporn province. The Chumporn fig, Utomporn fig, wild fig, and Thai fig are the same specie with the pipal tree: Ficus religiosa; the banyan tree: Ficus bengalensis; and the banyan tree: genus Ficus. The fig contains many kinds of useful nutrients for human body such as the calcium, phosphorus, ferrous element, protein, vitamin A, vitamin B1, vitamin B2, vitamin C, niacin, and carbohydrate. The fig is not only eaten as the fresh fruit, but also is made for the sweet such as the pie, pudding, cake, icecream, jam, dry baking, and mixture in pearl tea. Also, the fig is put in the sweet for a raisin substitute. The dry fig will be roasted, and then ground for coffee replacement. From a study on pharmacology, it was found that the fig treated the inflammation, relieved pain, relieved fever, prevented the growth of bacteria, prevented the growth of virus, retracted a muscle, lowered blood glucose levels, and prevented the liver being destroyed by the toxic substance.
No physical items for this record

มะเดื่อชุมพรเป็นพันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลแก่จังหวัดชุมพร มะเดื่อชุมพร มะเดื่ออุทุมพร มะเดื่อป่า มะเดื่อไทย เป็นมะเดื่อชนิดเดียวกัน อยู่ในสกุลเดียวกับโพธิ์ไทร กร่าง ผลมะเดื่อมีสารอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายหลายชนิดเช่น แคลเซียม ฟอสฟอรัส ธาตุเหล็ก โปรตีน วิตามินเอ วิตามินบี1 บี2 วิตามินซี ไนอะซิน คาร์โบไฮเดรต มะเดื่อนอกจากจะกินเป็นผลไม้สดแล้ว ยังสามารถนำไปใช้ทำขนม เช่น พาย พุดดิ้ง เค้ก ไอศกรีม แยม อบแห้ง ผสมในชาไข่มุก ใส่ขนมแทนลูกเกด ผลแห้งนำไปคั่ว แล้วป่นใช้แทนกาแฟได้ การศึกษาทางเภสัชวิทยาพบว่ามะเดื่อมีฤทธิ์ลดการอักเสบ แก้ปวด ลดไข้ ต้านเชื้อแบคทีเรีย ต้านเชื้อไวรัส คลายการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ ลดน้ำตาลในเลือด ป้องกันไม่ให้ตับถูกทำลายโดยสารพิษได้.

The Chumporn fig is a royally given tree for propitious growing to Chumporn province. The Chumporn fig, Utomporn fig, wild fig, and Thai fig are the same specie with the pipal tree: Ficus religiosa; the banyan tree: Ficus bengalensis; and the banyan tree: genus Ficus. The fig contains many kinds of useful nutrients for human body such as the calcium, phosphorus, ferrous element, protein, vitamin A, vitamin B1, vitamin B2, vitamin C, niacin, and carbohydrate. The fig is not only eaten as the fresh fruit, but also is made for the sweet such as the pie, pudding, cake, icecream, jam, dry baking, and mixture in pearl tea. Also, the fig is put in the sweet for a raisin substitute. The dry fig will be roasted, and then ground for coffee replacement. From a study on pharmacology, it was found that the fig treated the inflammation, relieved pain, relieved fever, prevented the growth of bacteria, prevented the growth of virus, retracted a muscle, lowered blood glucose levels, and prevented the liver being destroyed by the toxic substance.

There are no comments on this title.

to post a comment.