เทรนด์สุขภาพและสุขภาวะที่ดีผลักดันความต้องการน้ำมันปรุงอาหารไขมันต่ำในเอเชียแปซิฟิก / Madhvi Bhosale.

By: ฺBhosale, MadhviMaterial type: ArticleArticleSubject(s): FOOD62M10 | น้ำมันปรุงอาหาร | น้ำมันปรุงอาหาร -- แง่โภชนาการ In: FOOD FOCUS THAILAND 14, 154 (Jan. 2019) 22-25Summary: การบริโภคน้ำมันปรุงอาหารของทั่วโลก มีความแตกต่างกันไปตามพื้นที่ เช่น ชนิดของพืชน้ำมันที่ปลูก ราคา ต้นทุนการผลิต ภาษีศุลกากร ปัจจัยเหล่านี้ล้วนส่งผลต่อราคาจำหน่ายของน้ำมันปรุงอาหาร ประเทศจีนเป็นผู้บริโภคพืชน้ำมันและน้ำมันปรุงอาหารมากที่สุดในโลก มีการห้ามใช้น้ำมันปรุงอาหารแบบขายส่ง ในประเทศอินเดีย น้ำมันปาล์มมีการใช้มากในอุตสาหกรรมการบริการอาหารและอุตสาหกรรมน้ำมันเพื่อการบริโภคในอินเดียมีการเปลี่ยนจากน้ำมันพืชที่ผ่านกระบวนการเติมไฮโดรเจนไปเป็นน้ำมันรีไฟน์ที่สกัดด้วยตัวทำละลายแทน นอกจากมีการใช้น้ำมันปรุงอาหารในระดับครัวเรือนแล้ว ปัจจุบันมีการนำมาใช้เป็นส่วนประกอบในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม เช่น อุตสาหกรรมการผลิตช็อกโกแลต ผลิตภัณฑ์ขนมหวาน ผลิตภัณฑ์นมและไอศกรีม เบเกอรี่ ซึ่งผลิตภัณฑ์เหล่านี้ที่ใช้ส่วนประกอบที่มีคุณภาพและดีต่อสุขภาพมีบทบาทต่อแนวโน้มการบริโภค ซึ่งส่งผลกระทบต่อการบริโภคน้ำมันปรุงอาหารด้วย.
No physical items for this record

YJ2019 M10

การบริโภคน้ำมันปรุงอาหารของทั่วโลก มีความแตกต่างกันไปตามพื้นที่ เช่น ชนิดของพืชน้ำมันที่ปลูก ราคา ต้นทุนการผลิต ภาษีศุลกากร ปัจจัยเหล่านี้ล้วนส่งผลต่อราคาจำหน่ายของน้ำมันปรุงอาหาร ประเทศจีนเป็นผู้บริโภคพืชน้ำมันและน้ำมันปรุงอาหารมากที่สุดในโลก มีการห้ามใช้น้ำมันปรุงอาหารแบบขายส่ง ในประเทศอินเดีย น้ำมันปาล์มมีการใช้มากในอุตสาหกรรมการบริการอาหารและอุตสาหกรรมน้ำมันเพื่อการบริโภคในอินเดียมีการเปลี่ยนจากน้ำมันพืชที่ผ่านกระบวนการเติมไฮโดรเจนไปเป็นน้ำมันรีไฟน์ที่สกัดด้วยตัวทำละลายแทน นอกจากมีการใช้น้ำมันปรุงอาหารในระดับครัวเรือนแล้ว ปัจจุบันมีการนำมาใช้เป็นส่วนประกอบในการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม เช่น อุตสาหกรรมการผลิตช็อกโกแลต ผลิตภัณฑ์ขนมหวาน ผลิตภัณฑ์นมและไอศกรีม เบเกอรี่ ซึ่งผลิตภัณฑ์เหล่านี้ที่ใช้ส่วนประกอบที่มีคุณภาพและดีต่อสุขภาพมีบทบาทต่อแนวโน้มการบริโภค ซึ่งส่งผลกระทบต่อการบริโภคน้ำมันปรุงอาหารด้วย.

There are no comments on this title.

to post a comment.