ผลของชนิดบรรจุภัณฑ์และอุณหภูมิการเก็บรักษาต่อคุณภาพผักผงอัดเม็ดเสริมโพรไบโอติก [Electronic resource] / กรองกาญจน์ ทองมาศ และกิติพงศ์ อัศตรกุล.

By: กรองกาญจน์ ทองมาศContributor(s): กิติพงศ์ อัศตรกุลMaterial type: ArticleArticleSubject(s): FOOD64M08 | ผักผง | โพรไบโอติกOnline resources: Click here to access online In: วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม 14, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2562) 144-155Summary: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาผลของชนิดบรรจุภัณฑ์ (ถุงอะลูมิเนียมฟอยล์และขวดยาพลาสติก high density polyethylene, HDPE) และอุณหภูมิการเก็บรักษา (4 และ 25 องศาเซลเซียส) ต่อคุณภาพผักผงอัดเม็ดเสริมโพรไบโอติก โดยวิเคราะห์ค่าสี ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด ฤทธิ์การต้านออกซิเดชันด้วยวิธี 2, 2-diphenyl-1-picrylhydrazyl radical scavenging activity (DPPH) และปริมาณการรอดชีวิตของ โพรไบโอติก (Lactobacillus rhamnosus) ระหว่างการเก็บรักษา เป็นเวลา 4 สัปดาห์ โดยวิเคราะห์คุณภาพผักผงอัดเม็ดเสริม โพรไบโอติกทุกสัปดาห์ จากผลการทดลองพบว่าการเก็บรักษาผัก ผงอัดเม็ดเสริมโพรไบโอติกที่อุณหภูมิ 4 และ 25 ในบรรจุภัณฑ์ 2 ชนิด ได้แก่ ถุงอะลูมิเนียมฟอยล์ และขวดยาพลาสติก HDPE ไม่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงสีของผลิตภัณฑ์ เมื่อเวลาในการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์เพิ่มมากขึ้นส่งผลให้ปริมาณสารประกอบฟีนอลิก และฤทธิ์การต้านออกซิเดชันลดลง โดยตัวอย่างที่เก็บที่อุณหภูมิ4 องศาเซลเซียส มีปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมดมากกว่าตัวอย่างที่เก็บที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส เช่นเดียวกันกับฤทธิ์ การต้านออกซิเดชันของตัวอย่างที่เก็บที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส ที่มีฤทธิ์การต้านออกซิเดชันสูงกว่าตัวอย่างที่เก็บที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส และปริมาณการรอดชีวิตของโพรไบโอติกติกสาย พันธุ์ L. rhamnosus ในทุกภาวะการเก็บมีแนวโน้มลดลงเมื่อ ระยะเวลาการเก็บเพิ่มขึ้น โดยพบการรอดชีวิตของL. rhamnosus ของตัวอย่างที่เก็บที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส มากกว่าของ ตัวอย่างที่เก็บที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส โดยปริมาณ L. rhamnosus ของตัวอย่างที่เก็บที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียสยังคง มีค่าประมาณ 6 log CFU/g ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อาหารจาก โพรไบโอติกในประกาศกระทรวงสาธารณสุขเมื่อสิ้นสุดเก็บรักษา และพบว่าชนิดของบรรจุภัณฑ์ไม่ส่งผลต่อการรอดชีวิตของ โพรไบโอติกระหว่างการเก็บรักษา
No physical items for this record

20210808

งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาผลของชนิดบรรจุภัณฑ์ (ถุงอะลูมิเนียมฟอยล์และขวดยาพลาสติก high density polyethylene, HDPE) และอุณหภูมิการเก็บรักษา (4 และ 25 องศาเซลเซียส) ต่อคุณภาพผักผงอัดเม็ดเสริมโพรไบโอติก โดยวิเคราะห์ค่าสี ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด ฤทธิ์การต้านออกซิเดชันด้วยวิธี 2, 2-diphenyl-1-picrylhydrazyl radical scavenging activity (DPPH) และปริมาณการรอดชีวิตของ โพรไบโอติก (Lactobacillus rhamnosus) ระหว่างการเก็บรักษา เป็นเวลา 4 สัปดาห์ โดยวิเคราะห์คุณภาพผักผงอัดเม็ดเสริม โพรไบโอติกทุกสัปดาห์ จากผลการทดลองพบว่าการเก็บรักษาผัก ผงอัดเม็ดเสริมโพรไบโอติกที่อุณหภูมิ 4 และ 25 ในบรรจุภัณฑ์ 2 ชนิด ได้แก่ ถุงอะลูมิเนียมฟอยล์ และขวดยาพลาสติก HDPE ไม่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงสีของผลิตภัณฑ์ เมื่อเวลาในการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์เพิ่มมากขึ้นส่งผลให้ปริมาณสารประกอบฟีนอลิก และฤทธิ์การต้านออกซิเดชันลดลง โดยตัวอย่างที่เก็บที่อุณหภูมิ4 องศาเซลเซียส มีปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมดมากกว่าตัวอย่างที่เก็บที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส เช่นเดียวกันกับฤทธิ์ การต้านออกซิเดชันของตัวอย่างที่เก็บที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส ที่มีฤทธิ์การต้านออกซิเดชันสูงกว่าตัวอย่างที่เก็บที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส และปริมาณการรอดชีวิตของโพรไบโอติกติกสาย พันธุ์ L. rhamnosus ในทุกภาวะการเก็บมีแนวโน้มลดลงเมื่อ ระยะเวลาการเก็บเพิ่มขึ้น โดยพบการรอดชีวิตของL. rhamnosus ของตัวอย่างที่เก็บที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส มากกว่าของ ตัวอย่างที่เก็บที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส โดยปริมาณ L. rhamnosus ของตัวอย่างที่เก็บที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียสยังคง มีค่าประมาณ 6 log CFU/g ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อาหารจาก โพรไบโอติกในประกาศกระทรวงสาธารณสุขเมื่อสิ้นสุดเก็บรักษา และพบว่าชนิดของบรรจุภัณฑ์ไม่ส่งผลต่อการรอดชีวิตของ โพรไบโอติกระหว่างการเก็บรักษา

There are no comments on this title.

to post a comment.