การเปลี่ยนพฤติกรรมการกินภาพลักษณ์ของวัยรุ่น / ถนอมรัตน์ ประสิทธิเมตต์ และคนอื่นๆ

Contributor(s): ถนอมรัตน์ ประสิทธิเมตต์Material type: ArticleArticleSubject(s): SPV57M05 | FOOD57M05 | โภชนาการ -- พฤติกรรมผู้บริโภค -- วิจัย | โรคอ้วน -- แง่โภชนาการ | วัยรุ่น -- แง่โภชนาการ In: วารสารองค์การเภสัชกรรม 38, 4 (ก.ค.-ก.ย. 2555) 3-13Summary: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษากระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินของวัยรุ่นในการลดความอ้วนและภาพลักษณ์ด้านรูปร่างตามที่วัยรุ่นต้องการ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณและเสริมด้วยวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ วิจัยเชิงปริมาณเป็นการวิจัยเชิงสำรวจและกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างเป็นวัยรุ่น 428 คน และวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้วิทยาการคิวเพื่อสร้างประเด็นคำถามและเครื่องมือในการวิจัย ในเรื่องกิจกรรมการสร้างความรู้ความตะหนักการเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ภาพลักษณ์ของวัยรุ่น การจัดเก็บข้อมูลชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว และการเยี่ยมติดตามและให้คำแนะนำ/ปรึกษา ดำเนินการระหว่างเดือนมิถุนายน-สิงหาคม 2554 ผลการศึกษา พบว่ากลุ่มตัวอย่างวัยรุ่นอายุเฉลี่ย 15.6 ปี ร้อยละ 61.0 เป็นหญิง วัยรุ่นทั้งชายและหญิงไม่พึงพอในในรูปร่างของตัวเอง ต้องการให้มีน้ำหนักลดลง แต่มีความสูงเพิ่มขึ้น ภาพลักษณ์ที่วัยรุ่นต้องการคือ ไหล่กว้าง สมส่วน วัยรุ่นหญิงอยากมีรูปร่างทรงนาฬิกาทราย แต่ผู้ชายอยากมีรูปตัววี มีกล้ามเนื้อเป็นมัดใหญ่ วัยรุ่นส่วนใหญ่ต้องการมีรูปร่างสมส่วนด้วยวิธีทำให้ผอมลง ไม่มีไขมันหน้าท้อง และเอวเล็กลง จากกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการกิน โดยให้ความรู้ติดตามให้คำปรึกษา วัยรุ่นหญิงมีความรู้มากกว่าวัยรุ่นชาย มีความพึงพอใจในการรับประทานอาหารครบ 3 มื้อ ทานอาหารมื้อดึกลดลง รสจืดเพิ่มขึ้น โดยไม่เติมน้ำปลา ซีอิ้ว น้ำตาล ทานผลไม้เพิ่มขึ้น วัยรุ่นหญิงมีพฤติกรรมการกินอาหารที่มีความเสี่ยงการกินอาหารผิดปกติลดลงมากกว่าวัยรุ่นชายวัยรุ่นส่วนใหญ่ต้องการเปลี่ยนภาพลักษณ์ของตนเองด้วยการเปลี่ยนพฤติกรรมการกินโดยการกินน้อยลง.
No physical items for this record

YJ2014 M08

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษากระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินของวัยรุ่นในการลดความอ้วนและภาพลักษณ์ด้านรูปร่างตามที่วัยรุ่นต้องการ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณและเสริมด้วยวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ วิจัยเชิงปริมาณเป็นการวิจัยเชิงสำรวจและกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างเป็นวัยรุ่น 428 คน และวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้วิทยาการคิวเพื่อสร้างประเด็นคำถามและเครื่องมือในการวิจัย ในเรื่องกิจกรรมการสร้างความรู้ความตะหนักการเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ภาพลักษณ์ของวัยรุ่น การจัดเก็บข้อมูลชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว และการเยี่ยมติดตามและให้คำแนะนำ/ปรึกษา ดำเนินการระหว่างเดือนมิถุนายน-สิงหาคม 2554 ผลการศึกษา พบว่ากลุ่มตัวอย่างวัยรุ่นอายุเฉลี่ย 15.6 ปี ร้อยละ 61.0 เป็นหญิง วัยรุ่นทั้งชายและหญิงไม่พึงพอในในรูปร่างของตัวเอง ต้องการให้มีน้ำหนักลดลง แต่มีความสูงเพิ่มขึ้น ภาพลักษณ์ที่วัยรุ่นต้องการคือ ไหล่กว้าง สมส่วน วัยรุ่นหญิงอยากมีรูปร่างทรงนาฬิกาทราย แต่ผู้ชายอยากมีรูปตัววี มีกล้ามเนื้อเป็นมัดใหญ่ วัยรุ่นส่วนใหญ่ต้องการมีรูปร่างสมส่วนด้วยวิธีทำให้ผอมลง ไม่มีไขมันหน้าท้อง และเอวเล็กลง จากกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการกิน โดยให้ความรู้ติดตามให้คำปรึกษา วัยรุ่นหญิงมีความรู้มากกว่าวัยรุ่นชาย มีความพึงพอใจในการรับประทานอาหารครบ 3 มื้อ ทานอาหารมื้อดึกลดลง รสจืดเพิ่มขึ้น โดยไม่เติมน้ำปลา ซีอิ้ว น้ำตาล ทานผลไม้เพิ่มขึ้น วัยรุ่นหญิงมีพฤติกรรมการกินอาหารที่มีความเสี่ยงการกินอาหารผิดปกติลดลงมากกว่าวัยรุ่นชายวัยรุ่นส่วนใหญ่ต้องการเปลี่ยนภาพลักษณ์ของตนเองด้วยการเปลี่ยนพฤติกรรมการกินโดยการกินน้อยลง.

There are no comments on this title.

to post a comment.