000 03348nab a2200193 a 4500
001 000133340
008 130111c2555 mr1 0 0tha d
039 9 _a201702091416
_bVLOAD
_c201611151555
_dVLOAD
_c201510100629
_dVLOAD
_c201403051950
_dnantakan
_y201301111208
_zkularb
100 0 _aชวลิต รัตนธรรมสกุล
_936374
245 1 0 _aขยะเศษอาหาร แหล่งขุมพลังงานและแร่ธาตุ /
_cชวลิต รัตนธรรมสกุล
518 _aYJ2013 M05
520 _aขยะเศษอาหารในประเทศไทยส่วนใหญ่ประกอบด้วยสารอินทรีย์ที่สามารถถูกย่อยสลายได้ จึงมีความเป็นไปได้ที่จะทำการคัดแยกเศษอาหารไปดำเนินการจัดการด้วยวิธีการหมักแบบไร้ออกซิเจน เพื่อผลิตก๊าซชีวภาพใช้เป็นพลังงานทดแทน จากกรณีศึกษาการคัดแยกและใช้ประโยชน์ ขยะเศษอาหารจากโรงอาหารมาผลิตก๊าซชีวภาพของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยใช้เทคโนโลยีถังหมักไร้อากาศแบบแห้ง ที่มีการเวียนตะกอน พบว่าสามารถลดค่าปริมาณของแข็งในอาหาร (Total Solid) ที่เข้าระบบ อยู่ในช่วง 27,000-35,000 มิลลิกรัมต่อลิตร ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงถึง 75-80%...
520 _aระบบสามารถทำงานได้ผลเป็นอย่างดีและยังมีประสิทธิภาพการบำบัดสารอินทรีย์ในรูปของค่าซีโอดี ได้สูงถึง 80% สำหรับปริมาณก๊าซชีวภาพที่ได้อยู่ที่ 8.5-14.5 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน และก๊าซชีวภาพที่เกิดขึ้นมีปริมาณก๊าซมีเทนค่อนข้างคงที่ประมาณร้อยละ 60-65 ทางโรงอาหารได้มีการนำก๊าซชีวภาพที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในการหุงต้ม นอกจากนี้ปุ๋ยน้ำที่ได้จากการหมักขยะเศษอาหารสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการเกษตรต่อไป
648 _aspv55m06
_9181917
650 4 _aแก๊สชีวภาพ
_xเศษอาหาร.
_990093
773 _tENERGY SAVING
_g4, 45 (ส.ค. 2555) 62-63
_x1906-4209
942 _cSERIALS
999 _c130944
_d130944