000 04763nab a2200217 a 4500
001 000146051
008 170124 2559 th 000 0 tha d
039 9 _a201703291345
_bjoy
_c201703170943
_dnapaporn
_c201703170943
_dnapaporn
_c201702281258
_djoy
_y201701241340
_znatnaree
099 _aARTICLE (Thai)
100 0 _aปิยะดา ประเสริฐสม.
_981106
245 1 0 _aพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของน้ำตาลของคนไทย อายุ 10-35 ปี พ.ศ. 2555 /
_cปิยะดา ประเสริฐสม และจันทนา อึ้งชูศักด์
518 _aYJ2017 M02
520 _aเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของน้ำตาลเป็นแหล่งน้ำตาลหลักที่คนไทยบริโภคเป็นประจำ ซึ่งทำให้ได้รับน้ำตาลมากเกินพอดี และจะนำสู่การเกิดภาวะอ้วนและโรคฟันผุได้ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของน้ำตาลในคนไทยอายุ10-35 ปี โดยทำการสำรวจด้วยแบบสัมภาษณ์ ซึ่งดำเนินการระหว่าง เดือน ธันวาคม 2555- มกราคม 2556 การสำรวจได้ทำการสุ่มตัวอย่างเพื่อเป็นตัวแทนในระดับประเทศ โดยสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งหลายชั้นภูมิ (stratified-multistage sampling) จากกรุงเทพ และเมืองขนาดใหญ่ 4 เมืองในทุกภาค ผลการศึกษา พบว่า ตัวอย่างที่ได้จากการสำรวจทั้งสิ้น 2,238 คน ตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาและอุดมศึกษา ร้อยละ 40 ชอบดื่มเครื่องดื่มผสมน้ำตาล และร้อยละ 40-50 ดื่มมากกว่า 3 วัน/สัปดาห์ ในระยะ 30 วันที่ผ่านมาในระยะ 30 วันที่ผ่านมา นม น้ำอัดลม น้ำผลไม้ นมเปรี้ยวเป็นเครื่องดื่มที่ได้รับความนิยมมากที่สุด เมื่อถามถึงการลดปริมาณน้ำตาลในเครื่องดื่ม ลง 50 % พบว่า ร้อยละ 32.6 ของตัวอย่างตอบว่าจะดื่มน้อยลง และร้อยละ 4.3 จะเลิกดื่ม และเมื่อถามว่าหากมีการขึ้นราคาเครื่องดื่ม พบว่า การขึ้นราคาเครื่องดื่มในทุกๆ ร้อยละ 25 ของราคา จะพบว่าอัตราการตัดสินใจเลิกดื่มของตัวอย่างจะเพิ่มขึ้น ร้อยละ 50 จากค่า baseline การศึกษานี้ให้เห็นว่า มาตรการทางด้านราคาจะส่งผลต่อการดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของน้ำตาลซึ่งจะช่วยควบคุมการบริโภคน้ำตาลของคนไทยได้.
648 _aFOOD60M02
_9179810
650 4 _aน้ำตาล
_xเครื่องดื่ม.
_9143533
650 4 _aน้ำตาล
_xเครื่องดื่ม
_xวิจัย.
_9143534
700 0 _aจันทนา อึ้งชูศักด์
_9143535
773 _tวารสารการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
_g39, 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2559) 90-102
_x0859-5453
942 _cSERIALS
999 _c143590
_d143590