000 04707nab a22001697a 4500
850 _aเอกสารภาษาไทย (ชั้น 5)
999 _c149250
_d149250
008 190418b2561 xxu||||| |||| 00| 0 tha d
100 0 _aวันปิติ ธรรมศรี.
_9157312
245 1 0 _aการศึกษาสารพิษตกค้างในผัก พฤติกรรมผู้บริโภคและแนวทางลดสารเคมีเพื่อปรับเปลี่ยนการบริโภคผักปลอดสารพิษ /
_cวันปิติ ธรรมศรี.
518 _aYJ2019 M05
520 _aการศึกษาสารพิษตกค้างในผัก พฤติกรรมผู้บริโภค และแนวทางลดสารเคมีเพื่อปรับเปลี่ยนการบริโภค ผักปลอดสารพิษในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกบริโภคผักปลอดสารพิษ ศึกษาวิเคราะห์หาปริมาณสารพิษตกค้างกลุ่ม Organophosphates และ Carbamate และสร้างแรงจูงใจ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค กลุ่มตัวอย่างคือ ตัวแทนผู้บริโภค จํานวน 400 คน และตัวแทนผักคะน้า จํานวน 80 ตัวอย่าง ใน 4 พื้นที่ (แขวงบางพลัด แขวงบางอ้อ แขวงบางบําหรุ และแขวงบางยี่ขัน) ของกรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม ชุดทดสอบเอ็มเจพีเค (MJPK) และเครื่องมือ วิเคราะห์ Gas Chromatograph-Mass Spectrometer : GC-MS ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรม การเลือกบริโภคผักปลอดสารพิษคือปัจจัยส่วนบุคคล ส่วนผลการสุ่มตรวจสารพิษในคะน้าด้วยชุดทดสอบพบว่า แขวงบางพลัดพบการตกค้างอยู่ในระดับไม่ปลอดภัยมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 40 และเมื่อทําการสุ่มตรวจสารพิษ ในผักคะน้าปลอดสารพิษด้วยเครื่องมือวิเคราะห์ GC-MS พบว่าตรวจไม่พบสารพิษตกค้างในกลุ่ม Organophosphates (32 ชนดิ) อย่างไรก็ตามเมื่อผู้บริโภคได้ตระหนักถึงการสะสมของสารพิษในผักดั งกล่าว ทำให้ผู้บริโภคปรับเปลี่ยนพฤติกรรม หันมาบริโภคคะน้าปลอดสารพิษแทน ซึ่งจากการเผยแพร่ข้อมูลการศึกษานี้พบว่า ผู้บริโภคมีระดับความเชื่อมั่นอยู่ในระดับปานกลางถึงมาก สำหรับแนวทางการลดสารเคมีโดยวิธีการล้างผักที่ดีที่สุด คือ การใช้โซเดียมไบคาร์บอเนตและนํ้าส้มสายชูซึ่งสามารถลดการตกค้างของสารพิษได้ร้อยละ 90-95
648 _aFOOD62M06
_9159115
650 4 _aผักปลอดสารพิษ.
_9159116
650 4 _aสารพิษตกค้างทางเกษตรกรรม.
_9159117
773 _tวารสารการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
_g41, 3 (ก.ค.-ก.ย. 2561) 82-92
_x0859-5453
942 _2lcc