การหมักกากมันสำปะหลังโดยใช้จุลินทรีย์กึ่งไร้อากาศ (Facultative anaerobe) ร่วมกับรากลุ่ม Aspergillus Sp. และ Rhizopus Sp. / (Record no. 133460)

MARC details
000 -LEADER
fixed length control field 04624nab a2200205 a 4500
001 - CONTROL NUMBER
control field 000135867
008 - FIXED-LENGTH DATA ELEMENTS--GENERAL INFORMATION
fixed length control field 130808c2554 mr1 0 0tha d
039 #9 - LEVEL OF BIBLIOGRAPHIC CONTROL AND CODING DETAIL [OBSOLETE]
Level of rules in bibliographic description 201702091433
Level of effort used to assign nonsubject heading access points VLOAD
Level of effort used to assign subject headings 201611151616
Level of effort used to assign classification VLOAD
Level of effort used to assign subject headings 201510100650
Level of effort used to assign classification VLOAD
Level of effort used to assign subject headings 201505111620
Level of effort used to assign classification joy
-- 201308081007
-- Supichaya
245 10 - TITLE STATEMENT
Title การหมักกากมันสำปะหลังโดยใช้จุลินทรีย์กึ่งไร้อากาศ (Facultative anaerobe) ร่วมกับรากลุ่ม Aspergillus Sp. และ Rhizopus Sp. /
Statement of responsibility, etc. เสาวลักษณ์ ไกรนรา และคนอื่นๆ
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. กากมันสำปะหลัง เป็นวัสดุเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตแป้งมันสำปะหลัง ซึ่งมีองค์ประกอบของคาร์โบไฮเดรตในปริมาณสูงถึงร้อยละ 65-70 เป็นแหล่งพลังงานที่ดีเหมาะแก่การนำมาทำอาหารสัตว์ในรูปของกากมันสำปะหลังหมัก ซึ่งนอกจากเป็นการถนอมคุณค่าทางอาหารแล้ว ยังสามารถลดไซยาไนด์ที่มีอยู่ในมันสำปะหลังได้ด้วย งานวิจัยนี้จึงนำจุลินทรีย์กึ่งไร้อากาศ (Facultative anaerobic; FA) มาใช้หมักกากมันสำปะหลังร่วมกับราที่มีความสำคัญในอุตสาหกรรมอาหาร ได้แก่ Aspergillus oryzae, Aspergillus niger BCC17849, Rhizopus oryzae TISTR3535 และ Rhizopus oligosporus BCC5821 หลังจากหมักเป็นเวลา 2 วัน ค่าพีเอชของกากมันสำปะหลังลดลงเหลือ 3.8-4.5 เมื่อพิจารณากรดแลคติกในกากมันสำปะหลังที่หมัก...
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. โดยไม่เติมรา และที่เติมรากลุ่ม A. oryzae, A. niger, R. oryzae และ R. oligosporus พบว่ามีปริมาณร้อยละ 0.13, 0.24, 0.14, 0.08 และ 0.10 (w/v) ตามลำดับ เมื่อเพิ่มปริมาตรของ FA ในการหมักเป็น 2 เท่า พบว่าชนิดและปริมาณกรดอินทรีย์ในกากมันสำปะหลังมีค่าเพิ่มขึ้น นอกจากนั้นยังมีกรดบิวทีริกซึ่งเป็นกรดอินทรีย์ไม่พึงประสงค์เกิดขึ้นในระบบ โดยการทดลองที่ไม่เติมรามีกรดบิวทีริกสูงสุดคือร้อยละ 0.19 ส่วนการทดลองที่เติมรา A. oryzae มีกรดบิวทีริกร้อยละ 0.13 สรุปได้ว่ารา A. oryzae นอกจากช่วยเร่งการผลิตกรดแลคติกแล้วยังช่วยลดการผลิตกรดบิวทีริกในระบบด้วย ซึ่งผลทดลองที่ได้น่าจะสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนางานวิจัยสำหรับหมักกากมันสำปะหลังเพื่อเป็นอาหารสัตว์ในระดับอุตสาหกรรมต่อไป
648 ## - SUBJECT ADDED ENTRY--CHRONOLOGICAL TERM
Chronological term SPV56M08
9 (RLIN) 182413
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element กากมันสำปะหลัง
General subdivision วิจัย.
9 (RLIN) 100717
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element การใช้ของเสียให้เป็นประโยชน์
General subdivision กากมันสำปะหลัง
-- วิจัย.
9 (RLIN) 130218
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element จุลินทรีย์
General subdivision วิจัย.
9 (RLIN) 23927
700 0# - ADDED ENTRY--PERSONAL NAME
Personal name เสาวลักษณ์ ไกรนรา
9 (RLIN) 130219
773 ## - HOST ITEM ENTRY
Title THAI ENVIRONMENTAL ENGINEERING JOURNAL
Related parts 25, 2 (May.-Aug. 2011) 87-96
International Standard Serial Number 1686-2961
942 ## - ADDED ENTRY ELEMENTS (KOHA)
Koha item type Articles

No items available.