ฉลากอาหารกับความเข้าใจของผู้บริโภค / พชร แกล้วกล้า

By: พชร แกล้วกล้าMaterial type: ArticleArticleSubject(s): spv55m006 | ฉลากอาหาร | ฉลากโภชนาการ In: ฉลากซื้อ 18, 134 (เม.ย. 2555) 32-37Summary: ฉลากอาหารเปรียบเสมือนหน้าต่างของผลิตภัณฑ์ที่ทำให้สามารถเห็นผลิตภัณฑ์ภายในภาชนะบรรจุได้ ถือเป็นเครื่องมือของผู้ประกอบการในการสื่อสารข้อมูลแก่ผู้บริโภคและเป็นส่วนหนึ่งในการเพิ่มมูลค่าแก่ผลิตภัณฑ์ รวมถึงเป็นเครื่องมือของหน่วยงานรัฐในการติดตามตรวจสอบคุณภาพอาหาร และให้ข้อมูลความรู้ที่เป็นประโยชน์แก่ประชาชน นิตยสารฉลาดซื้อได้ร่วมมือกับโครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งกลไกการคุ้มครองความปลอดภัยด้านอาหารโดยผู้บริโภค สำรวจการรับรู้และความเข้าใจของผู้บริโภค ที่มีต่อฉลาดอาหารในสามประเด็น คือ รูปแบบฉลากโภชนาการ การโฆษณาบนฉลากอาหาร และวันผลิต/วันหมดอายุของอาหาร พบว่าผู้บริโภคร้อยละ 83.5 ต้องการให้อาหารทุกประเภทแสดงฉลากโภชนาการ ส่วนโฆษณาบนฉลากอาหารมีผลต่อการตัดสินใจซื้อร้อยละ 76.8 และร้อยละ 49.2 อยากเห็นฉลากอาหารแสดงทั้งวันผลิตและวันหมดอายุ (ไม่เอาคำว่าบริโภคก่อน)
No physical items for this record

ฉลากอาหารเปรียบเสมือนหน้าต่างของผลิตภัณฑ์ที่ทำให้สามารถเห็นผลิตภัณฑ์ภายในภาชนะบรรจุได้ ถือเป็นเครื่องมือของผู้ประกอบการในการสื่อสารข้อมูลแก่ผู้บริโภคและเป็นส่วนหนึ่งในการเพิ่มมูลค่าแก่ผลิตภัณฑ์ รวมถึงเป็นเครื่องมือของหน่วยงานรัฐในการติดตามตรวจสอบคุณภาพอาหาร และให้ข้อมูลความรู้ที่เป็นประโยชน์แก่ประชาชน นิตยสารฉลาดซื้อได้ร่วมมือกับโครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งกลไกการคุ้มครองความปลอดภัยด้านอาหารโดยผู้บริโภค สำรวจการรับรู้และความเข้าใจของผู้บริโภค ที่มีต่อฉลาดอาหารในสามประเด็น คือ รูปแบบฉลากโภชนาการ การโฆษณาบนฉลากอาหาร และวันผลิต/วันหมดอายุของอาหาร พบว่าผู้บริโภคร้อยละ 83.5 ต้องการให้อาหารทุกประเภทแสดงฉลากโภชนาการ ส่วนโฆษณาบนฉลากอาหารมีผลต่อการตัดสินใจซื้อร้อยละ 76.8 และร้อยละ 49.2 อยากเห็นฉลากอาหารแสดงทั้งวันผลิตและวันหมดอายุ (ไม่เอาคำว่าบริโภคก่อน)

There are no comments on this title.

to post a comment.