สมุนไพรต้านพิษโลหะหนัก / สุภาภรณ์ ปิติพร

By: สุภาภรณ์ ปิติพรMaterial type: ArticleArticleSubject(s): FOOD56M12 | โลหะหนัก -- การดูดซับ -- สมุนไพร | รางจืด -- การดูดซับโลหะหนัก | ขมิ้นชัน -- การดูดซับโลหะหนัก | กระเทียม -- การดูดซับโลหะหนัก | มะขามป้อม -- การดูดซับโลหะหนัก In: หมอชาวบ้าน 35, 410 (มิ.ย. 2556) 19-21Summary: โลหะหนักที่ตรวจพบได้มากและมีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตสูง ได้แก่ ปรอท ตะกั่ว แคดเมียม ในทางการแพทย์แผนไทยมีสมุนไพรหลายชนิดที่สามารถนำมาใช้ในการต้านพิษโลหะหนัก อาทิ รางจืด ขมิ้นชัน กระเทียม มะขามป้อม หมอยาพื้นบ้านใช้รางจืดในการแก้พิษยาเบื่อ ยาสั่ง สารพิษฆ่าแมลง พืชพิษ เห็ดพิษ สุราและยาเสพติด รวมทั้ง พิษงู แมลงป่อง ตะขาบ มีรายงานการวิจัยพบว่าสารสกัดในรางจืดสามารถลดพิษที่เกิดจากสารตะกั่ว ซึ่งส่งผลต่อความจำและการเรียนรู้ของหนูทดลอง และจากการศึกษาขมิ้นชัน พบว่าดีกับระบบการป้องกันพิษของแคดเมียมต่อลำไส้ ป้องกันพิษตะกั่วและแคดเมียมต่อสมอง พิษของแคดเมียมต่อไต ดังนั้นผู้ที่อยู่ภายใต้สภาพมลพิษควรกินขมิ้นให้ได้ทุกวัน วันละ 1 ช้อนชา กระเทียมมีฤทธิ์ป้องกันและรักษาแคดเมียมและตะกั่วไม่ให้มีผลต่อไตและอวัยวะต่างๆของหนูทดลอง มีรายงานการวิจัยพบว่า การให้ผลมะขามป้อมบดขนาด 50 กรัมต่อน้ำหนักตัวหนู 1 กิโลกรัม พร้อมอาหารมีผลลดการเกิดพิษของตะกั่วต่อตับและไตในหนูทดลองได้.
No physical items for this record

YJ2014 M03

โลหะหนักที่ตรวจพบได้มากและมีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตสูง ได้แก่ ปรอท ตะกั่ว แคดเมียม ในทางการแพทย์แผนไทยมีสมุนไพรหลายชนิดที่สามารถนำมาใช้ในการต้านพิษโลหะหนัก อาทิ รางจืด ขมิ้นชัน กระเทียม มะขามป้อม หมอยาพื้นบ้านใช้รางจืดในการแก้พิษยาเบื่อ ยาสั่ง สารพิษฆ่าแมลง พืชพิษ เห็ดพิษ สุราและยาเสพติด รวมทั้ง พิษงู แมลงป่อง ตะขาบ มีรายงานการวิจัยพบว่าสารสกัดในรางจืดสามารถลดพิษที่เกิดจากสารตะกั่ว ซึ่งส่งผลต่อความจำและการเรียนรู้ของหนูทดลอง และจากการศึกษาขมิ้นชัน พบว่าดีกับระบบการป้องกันพิษของแคดเมียมต่อลำไส้ ป้องกันพิษตะกั่วและแคดเมียมต่อสมอง พิษของแคดเมียมต่อไต ดังนั้นผู้ที่อยู่ภายใต้สภาพมลพิษควรกินขมิ้นให้ได้ทุกวัน วันละ 1 ช้อนชา กระเทียมมีฤทธิ์ป้องกันและรักษาแคดเมียมและตะกั่วไม่ให้มีผลต่อไตและอวัยวะต่างๆของหนูทดลอง มีรายงานการวิจัยพบว่า การให้ผลมะขามป้อมบดขนาด 50 กรัมต่อน้ำหนักตัวหนู 1 กิโลกรัม พร้อมอาหารมีผลลดการเกิดพิษของตะกั่วต่อตับและไตในหนูทดลองได้.

There are no comments on this title.

to post a comment.