2 ทศวรรษพืชและอาหารจีเอ็มโอ ผลกระทบต่อสุขภาพและการต่อต้านของผู้บริโภค / วิฑูรย์ เลี่ยนจำรูญ

By: วิฑูรย์ เลี่ยนจำรูญMaterial type: ArticleArticleSubject(s): FOOD59M02 | จีเอ็มโอ (สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม) | พืชดัดแปรพันธุกรรม -- แง่สังคม In: ฉลาดซื้อ 21, 168 (ก.พ. 2558) 9-17Summary: ผลกระทบต่อสุขภาพจากอาหารดัดแปรพันธุกรรม (genetically engineered food) หรือ จีเอ็มโอ ทำให้เกิดความกังวลเกี่ยวกับสารพิษ การแพ้ และการต้านทานยาปฏิชีวนะ จากยีนแปลกปลอม ที่ใช้ในกระบวนการตัดต่อพันธุกรรม การปลูกพืชจีเอ็มโอ ทำให้มีการใช้สารเคมีไกลโฟเสทเพิ่มขึ้น และมีการปนเปื้อนในผลผลิตถั่วเหลืองและข้าวโพด ซึ่งมีงานวิจัย พบว่าไกลโฟเสท ที่มากับพืชจีเอ็มโอ มีพิษเรื้อรังต่อสุขภาพ ในต่างประเทศ มีการเรียกร้องให้มีการติดฉลากสินค้าจีเอ็มโอ เพื่อให้ผู้บริโภคมีทางเลือกตัดสินใจ ขณะนี้รัฐบาลไทยได้ตั้งคณะทำงานศึกษาแนวทางการนำสิ่งมีชีวิตมาดัดแปลงพันธุกรรม และผลิตภัณฑ์มาใช้ในประเทศไทยเพื่อพิจารณาข้อเสนอของกลุ่มอุตสาหกรรมเลี้ยงสัตว์ และบริษัทเมล็ดพันธุ์ ข้ามชาติ ซึ่งหากให้มีการปลูกพืชจีเอ็มโอในประเทศไทย จะส่งผลกระทบต่อการส่งออก ปัญหาสุขภาพ สิ่งแวดล้อม ความอยู่รอดของเกษตรกรรายย่อย และความมั่นคงทางอาหารของประเทศโดยรวม.
No physical items for this record

YJ2016 M06

ผลกระทบต่อสุขภาพจากอาหารดัดแปรพันธุกรรม (genetically engineered food) หรือ จีเอ็มโอ ทำให้เกิดความกังวลเกี่ยวกับสารพิษ การแพ้ และการต้านทานยาปฏิชีวนะ จากยีนแปลกปลอม ที่ใช้ในกระบวนการตัดต่อพันธุกรรม การปลูกพืชจีเอ็มโอ ทำให้มีการใช้สารเคมีไกลโฟเสทเพิ่มขึ้น และมีการปนเปื้อนในผลผลิตถั่วเหลืองและข้าวโพด ซึ่งมีงานวิจัย พบว่าไกลโฟเสท ที่มากับพืชจีเอ็มโอ มีพิษเรื้อรังต่อสุขภาพ ในต่างประเทศ มีการเรียกร้องให้มีการติดฉลากสินค้าจีเอ็มโอ เพื่อให้ผู้บริโภคมีทางเลือกตัดสินใจ ขณะนี้รัฐบาลไทยได้ตั้งคณะทำงานศึกษาแนวทางการนำสิ่งมีชีวิตมาดัดแปลงพันธุกรรม และผลิตภัณฑ์มาใช้ในประเทศไทยเพื่อพิจารณาข้อเสนอของกลุ่มอุตสาหกรรมเลี้ยงสัตว์ และบริษัทเมล็ดพันธุ์ ข้ามชาติ ซึ่งหากให้มีการปลูกพืชจีเอ็มโอในประเทศไทย จะส่งผลกระทบต่อการส่งออก ปัญหาสุขภาพ สิ่งแวดล้อม ความอยู่รอดของเกษตรกรรายย่อย และความมั่นคงทางอาหารของประเทศโดยรวม.

There are no comments on this title.

to post a comment.