การพัฒนาโปรแกรมการควบคุม สารก่อภูมิแพ้อาหาร / วิภา สุโรจนะเมธากุล.

By: วิภา สุโรจนะเมธากุลCall Number: ARTICLE (Thai) Material type: ArticleArticleSubject(s): FOOD60M04 | อาหารก่อภูมิแพ้ | อาหารก่อภูมิแพ้ -- การควบคุม In: อาหาร 46, 3 (ก.ค.-ก.ย. 2559) 21-28Summary: ภาวะภูมิแพ้อาหาร เป็นปฏิกิริยาตอบสนองของร่างกายแบบไม่พึงประสงค์ที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกันต่อสารอาหารโปรตีนที่รับประทานโดยผู้ที่เป็นโรคภูมิแพ้อาหาร การวิเคราะห์อันตรายและการควบคุมสารก่อภูมิแพ้อาหารนับว่ามีความสำคัญยิ่ง เนื่องจากปริมาณโปรตีนเพียงเล็กน้อย สามารถก่อให้เกิดอาการแพ้ได้ ผู้ผลิตอาหารต้องมีมาตรการจัดการสารก่อภูมิแพ้ในโรงงาน เพื่อให้แสดงฉลากถูกต้อง สอดคล้องกับข้อกฎหมายว่าด้วย การแสดงฉลากสารก่อภูมิแพ้อาหาร ซึ่งแนวทางปฏิบัติที่ดี คือ การควบคุมผ่านโปรแกรมการจัดการสารก่อภูมิแพ้อาหาร โดยหน่วยงานมาตรฐานสากล codex (1963) ได้วางมาตรฐานแลแนวทางปฏิบัติที่ดีในการควบคุมสารก่อภูมิแพ้ 7 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การตรวจรายละเอียดของกระบวนการผลิตตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงผลิตภัณฑ์สุดท้าย การบ่งชี้อันตรายที่จำเป็นต้องควบคุม ขั้นตอนกระบวนการผลิตที่จะทำการควบคุม 2. ตั้งเกณฑ์/ขีดจำกัด ณ จุดวิกฤตที่ต้องการควบคุม 3. ขั้นตอนการตรวจติดตาม 4. ระบุขั้นตอนการปฏิบัติร่วมกันของหน่วยงาน 5. ตรวจสอบสม่ำเสมอ 6. จัดทำเอกสารและบันทึกการควบคุมสารก่อภูมิแพ้อาหาร และ 7. ปรับปรุงและพัฒนาแผนเมื่อจำเป็นหรือมีการเปลี่ยนแปลงใดๆ.
No physical items for this record

YJ2017 M04

ภาวะภูมิแพ้อาหาร เป็นปฏิกิริยาตอบสนองของร่างกายแบบไม่พึงประสงค์ที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกันต่อสารอาหารโปรตีนที่รับประทานโดยผู้ที่เป็นโรคภูมิแพ้อาหาร การวิเคราะห์อันตรายและการควบคุมสารก่อภูมิแพ้อาหารนับว่ามีความสำคัญยิ่ง เนื่องจากปริมาณโปรตีนเพียงเล็กน้อย สามารถก่อให้เกิดอาการแพ้ได้ ผู้ผลิตอาหารต้องมีมาตรการจัดการสารก่อภูมิแพ้ในโรงงาน เพื่อให้แสดงฉลากถูกต้อง สอดคล้องกับข้อกฎหมายว่าด้วย การแสดงฉลากสารก่อภูมิแพ้อาหาร ซึ่งแนวทางปฏิบัติที่ดี คือ การควบคุมผ่านโปรแกรมการจัดการสารก่อภูมิแพ้อาหาร โดยหน่วยงานมาตรฐานสากล codex (1963) ได้วางมาตรฐานแลแนวทางปฏิบัติที่ดีในการควบคุมสารก่อภูมิแพ้ 7 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การตรวจรายละเอียดของกระบวนการผลิตตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงผลิตภัณฑ์สุดท้าย การบ่งชี้อันตรายที่จำเป็นต้องควบคุม ขั้นตอนกระบวนการผลิตที่จะทำการควบคุม 2. ตั้งเกณฑ์/ขีดจำกัด ณ จุดวิกฤตที่ต้องการควบคุม 3. ขั้นตอนการตรวจติดตาม 4. ระบุขั้นตอนการปฏิบัติร่วมกันของหน่วยงาน 5. ตรวจสอบสม่ำเสมอ 6. จัดทำเอกสารและบันทึกการควบคุมสารก่อภูมิแพ้อาหาร และ 7. ปรับปรุงและพัฒนาแผนเมื่อจำเป็นหรือมีการเปลี่ยนแปลงใดๆ.

There are no comments on this title.

to post a comment.