แกงคั่วผักหวานหอยลาย / ชลธร เหมทานนท์, อารีย์ ประจันสุวรรณ.

By: ชลธร เหมทานนท์Contributor(s): อารีย์ ประจันสุวรรณMaterial type: ArticleArticleSubject(s): FOOD63M03 | อาหาร | การปรุงอาหาร | ผัก | ผักหวาน In: หมอชาวบ้าน 41, 485 (ก.ย. 2562) 49-51Summary: ผักหวานเป็นผักพื้นบ้านของไทย มี 2 ชนิด คือ ผักหวานบ้านและผักหวานป่า โดยนำมาประกอบอาหาร ปรุงสุก ประโยชน์และคุณค่าทางโภชนาการของผักหวานทั้งสองชนิดคล้ายคลึงกัน ประกอบด้วยสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ เช่น แคโรทีนอยด์ สเตอรอลจากพืช ฟลาโวนอยด์ กรดฟีนอลิก และสารประกอบฟีนลิก มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ต้านการก่อกลายพันธุ์และฤทธิ์ต้านมะเร็ง โดยในบทความมีส่วนผสมและวิธีการทำแกงคั่วผักหวานหอยลายด้วย ซึ่งคุณค่าทางโภชนาการของแกงคั่วผักหวานหอยลายกับข้าวสวย 1 จาน ให้เพลังงาน 542 กิโลแคลอรี มีโปรตีนจากเนื้อหอย ใยอาหารร้อยละ 18.4 แคลเซียมร้อยละ 13.7 ธาตุเหล็กร้อยละ 54 โซเดียม ร้อยละ 72.1 ของปริมาณที่แนะนำให้บริโภคใน 1 วัน และมีบีตาแคโรทีน 1641.4 ไมโครกรัมต่อ 1 หน่วยบริโภค จึงอาจมีส่วนช่วยในการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังต่างๆได้.
No physical items for this record

YJ2019 M12

ผักหวานเป็นผักพื้นบ้านของไทย มี 2 ชนิด คือ ผักหวานบ้านและผักหวานป่า โดยนำมาประกอบอาหาร ปรุงสุก ประโยชน์และคุณค่าทางโภชนาการของผักหวานทั้งสองชนิดคล้ายคลึงกัน ประกอบด้วยสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ เช่น แคโรทีนอยด์ สเตอรอลจากพืช ฟลาโวนอยด์ กรดฟีนอลิก และสารประกอบฟีนลิก มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ต้านการก่อกลายพันธุ์และฤทธิ์ต้านมะเร็ง โดยในบทความมีส่วนผสมและวิธีการทำแกงคั่วผักหวานหอยลายด้วย ซึ่งคุณค่าทางโภชนาการของแกงคั่วผักหวานหอยลายกับข้าวสวย 1 จาน ให้เพลังงาน 542 กิโลแคลอรี มีโปรตีนจากเนื้อหอย ใยอาหารร้อยละ 18.4 แคลเซียมร้อยละ 13.7 ธาตุเหล็กร้อยละ 54 โซเดียม ร้อยละ 72.1 ของปริมาณที่แนะนำให้บริโภคใน 1 วัน และมีบีตาแคโรทีน 1641.4 ไมโครกรัมต่อ 1 หน่วยบริโภค จึงอาจมีส่วนช่วยในการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังต่างๆได้.

There are no comments on this title.

to post a comment.