สารประกอบฟีนอลิกและความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดสมุนไพรไทยบางชนิด Phenolic compounds and antioxidant activities of selected thai herb extracts [Electronic resource] / อรอนงค์ ภูสีฤทธิ์ และคนอื่นๆ.

By: อรอนงค์ ภูสีฤทธิ์Contributor(s): ธีระพันธ์ จําเริญพัฒน์ | เนตรนภา กุมารสิทธิ์ | เรณุกา ระดาไสย | สิริรัตน์ สังข์บัวดงMaterial type: ArticleArticleSubject(s): มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ -- วิจัย | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม กองส่งเสริมการวิจัยและบริการวิชาการ -- วิจัย | สารต้านอนุมูลอิสระ | ฟีนอลิก | ฟลาโวนอยด์ | พืชสมุนไพร | สารสกัดจากพืชOnline resources: Click here to access online In: วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด: วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1,1 (ม.ค.- มิ.ย. 2563) 44-51Summary: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สารประกอบฟีนอลิก และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ พืชสมุนไพรไทย 3 ชนิด ได้แก่ หญ้างวงช้าง ผักคราดหัวแหวน และตําลึงทอง โดยวิเคราะห์ปริมาณฟีนอลิกรวม (TPC) ปริมาณฟลาโวนอยด์รวม (TFC) วิเคราะห์สารประกอบฟีนอลิกและสารประกอบฟลาโวนอยด์โดยวิธี High performance liquid chromatography (HPLC) ศึกษากิจกรรมต้านอนุมูลอิสระโดยวิธี DPPH radical scavenging และ ferric reducing/antioxidant power(FRAP) พบว่า สารสกัดจากสมุนไพรหญ้างวงช้างมีปริมาณฟลาโวนอยด์รวมสูงที่สุด เท่ากับ 1467.11 μg RTE/g ปริมาณฟีนอลิกรวมพบมากที่สุดในสารสกัดจากตําลึงทองมีค่าเท่ากับ 540.48 μg GAE/g การวิเคราะห์ปริมาณกรดฟีนอลิกและฟลาโวนอยด์ด้วยเครื่อง High performance liquid chromatography (HPLC) พบว่า สารประกอบฟลาโวนอยด์ที่พบมาก ได้แก่ apigenin, quercetin, kaempferol,myricetin และ rutin สารประกอบฟีนอลิกที่พบมากได้แก่ ferulic acid, cafferic acid และ sinapicnic acid ความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระวิเคราะห์ด้วยวิธี DPPH อยู่ในระหว่าง 9.16-9.32 mg Trolox/g (p>0.05) และความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระวิเคราะห์ด้วยวิธี FRAP พบว่า หญ้างวงช้าง มีค่าสูงที่สุดเท่ากับ 106.63 mmol FeSO4/g จากการศึกษาครั้งนี้ได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ของสมุนไพรท้องถิ่นที่เป็นแหล่งของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ และมีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระเพื่อใช้เป็นอาหารเพื่อสุขภาพต่อไป
No physical items for this record

YJ2021 M06

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สารประกอบฟีนอลิก และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ พืชสมุนไพรไทย 3 ชนิด ได้แก่ หญ้างวงช้าง ผักคราดหัวแหวน และตําลึงทอง โดยวิเคราะห์ปริมาณฟีนอลิกรวม (TPC) ปริมาณฟลาโวนอยด์รวม (TFC) วิเคราะห์สารประกอบฟีนอลิกและสารประกอบฟลาโวนอยด์โดยวิธี High performance liquid chromatography (HPLC) ศึกษากิจกรรมต้านอนุมูลอิสระโดยวิธี DPPH radical scavenging และ ferric reducing/antioxidant power(FRAP) พบว่า สารสกัดจากสมุนไพรหญ้างวงช้างมีปริมาณฟลาโวนอยด์รวมสูงที่สุด เท่ากับ 1467.11 μg RTE/g ปริมาณฟีนอลิกรวมพบมากที่สุดในสารสกัดจากตําลึงทองมีค่าเท่ากับ 540.48 μg GAE/g การวิเคราะห์ปริมาณกรดฟีนอลิกและฟลาโวนอยด์ด้วยเครื่อง High performance liquid chromatography (HPLC) พบว่า สารประกอบฟลาโวนอยด์ที่พบมาก ได้แก่ apigenin, quercetin, kaempferol,myricetin และ rutin สารประกอบฟีนอลิกที่พบมากได้แก่ ferulic acid, cafferic acid และ sinapicnic acid ความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระวิเคราะห์ด้วยวิธี DPPH อยู่ในระหว่าง 9.16-9.32 mg Trolox/g (p>0.05) และความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระวิเคราะห์ด้วยวิธี FRAP พบว่า หญ้างวงช้าง มีค่าสูงที่สุดเท่ากับ 106.63 mmol FeSO4/g จากการศึกษาครั้งนี้ได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ของสมุนไพรท้องถิ่นที่เป็นแหล่งของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ และมีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระเพื่อใช้เป็นอาหารเพื่อสุขภาพต่อไป

There are no comments on this title.

to post a comment.