เอนไซม์กับการเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการของโปรตีนในอาหาร [Electronic resource] / กานต์ธิดา วดีศิริศักดิ์.

By: กานต์ธิดา วดีศิริศักดิ์Material type: ArticleArticleSubject(s): มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร | FOOD64M06 | เอนไซม์ | โปรตีน -- การเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการ In: วารสารอาหาร 50, 1 (ม.ค.-มี.ค. 2563) 33-40Summary: โปรตีนเป็นสารประกอบชีวโมเลกุลขนาดใหญ่ มีกรดอะมิโนเป็นโมเลกุลขนาดเล็กเชื่อมต่อกันด้วยพันธะเปปไทด์ระหว่างหมู่คาร์บอกซิลและหมู่อะมิโนของกรดอะมิโนโมเลกุลใกล้กัน โปรตีนมีสมบัติเชิงหน้าที่ (functional properties) ที่สำคัญหลายประการ เช่น การละลาย การอุ้มน้ำ การเกิดเจล ความยืดหยุ่น การเกิดอิมัลชั่น การดูดซับไขมัน การเกิดโฟม การใช้เอนไซม์ในอาหารเพื่อเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการช่วยส่งเสริมระบบย่อยอาหารและกระบวนการเผาผลาญ (metabolism) โดยเอนไซม์ทำหน้าที่ในการย่อยโปรตีน คาร์โบไฮเดรต และไขมันในอาหาร ให้มีโมเลกุลเล็กลงผ่านกระบวนการไฮโดรไลซิส (hydrolysis) เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภายในของอาหาร เสริมสร้างคุณสมบัติทางโภชนาการ (nutritional properties) และสมบัติเชิงหน้าที่ (functional properties) ของอาหารได้ เช่น การไฮโดรไลซ์ด้วยเอนไซม์ (enzymatic hydrolysis) การดัดแปรด้วยเอนไซม์ (enzymatic modification) การสกัดด้วยเอนไซม์ (enzymatic extraction) ซึ่งปัจจุบันยังมีการศึกษาและพัฒนาการผลิตและการประยุกต์ใช้เอนไซม์ในการผลิตสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพใหม่ๆ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ทางด้านโภชนศาสตร์และเภสัชศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ.
No physical items for this record

20210604

โปรตีนเป็นสารประกอบชีวโมเลกุลขนาดใหญ่ มีกรดอะมิโนเป็นโมเลกุลขนาดเล็กเชื่อมต่อกันด้วยพันธะเปปไทด์ระหว่างหมู่คาร์บอกซิลและหมู่อะมิโนของกรดอะมิโนโมเลกุลใกล้กัน โปรตีนมีสมบัติเชิงหน้าที่ (functional properties) ที่สำคัญหลายประการ เช่น การละลาย การอุ้มน้ำ การเกิดเจล ความยืดหยุ่น การเกิดอิมัลชั่น การดูดซับไขมัน การเกิดโฟม การใช้เอนไซม์ในอาหารเพื่อเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการช่วยส่งเสริมระบบย่อยอาหารและกระบวนการเผาผลาญ (metabolism) โดยเอนไซม์ทำหน้าที่ในการย่อยโปรตีน คาร์โบไฮเดรต และไขมันในอาหาร ให้มีโมเลกุลเล็กลงผ่านกระบวนการไฮโดรไลซิส (hydrolysis) เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภายในของอาหาร เสริมสร้างคุณสมบัติทางโภชนาการ (nutritional properties) และสมบัติเชิงหน้าที่ (functional properties) ของอาหารได้ เช่น การไฮโดรไลซ์ด้วยเอนไซม์ (enzymatic hydrolysis) การดัดแปรด้วยเอนไซม์ (enzymatic modification) การสกัดด้วยเอนไซม์ (enzymatic extraction) ซึ่งปัจจุบันยังมีการศึกษาและพัฒนาการผลิตและการประยุกต์ใช้เอนไซม์ในการผลิตสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพใหม่ๆ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ทางด้านโภชนศาสตร์และเภสัชศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ.

There are no comments on this title.

to post a comment.