การประเมินฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของกระเทียมโทนดํา Evaluation of the antioxidant activities of black single bulb form of elephant garlic (Allium ampeloprasumvar. ampeloprasum) [Electronic resource] / ชุติมา แก้วพิบูลย์ และณวงศ์ บุนนาค.

By: ชุติมา แก้วพิบูลย์Contributor(s): ณวงศ์ บุนนาคMaterial type: ArticleArticleSubject(s): มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา คณะวิทยาศาสตร์ -- วิจัย | มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง คณะวิทยาศาสตร์ -- วิจัย | กระเทียม | สารต้านอนุมูลอิสระ | สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากพืช | ฟีนอลิกOnline resources: Click here to access online In: วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 29, 1 (ม.ค.- ก.พ. 2564) 111-118Summary: กระเทียมโทนดํามีคุณค่าทางอาหารสูง รวมถึงมีเนื้อสัมผัส กลิ่น และรสชาติต่างจากกระเทียมโทนสด ส่งผลให้บริโภคได้ง่ายขึ้น ดังนั้นงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธีDPPH,ABTS และ FRAPเปรียบเทียบกับกระเทียมโทนสด ผลการวิเคราะห์ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกด้วยวิธี Folin-Ciocalteu colorimetry พบว่ากระเทียมโทนดํามีปริมาณฟีนอลิก(31.15±0.39 มิลลิกรัมสมมูลของกรดแกลลิกต่อกรัมสารสกัด) มากกว่ากระเทียมโทนสด (9.76±0.60 มิลลิกรัมสมมูลของกรดแกลลิกต่อกรัมสารสกัด) และเมื่อทดสอบประสิทธิภาพในการต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธีDPPHและ ABTS กระเทียมโทนดํา (EC50 = 4.3±0.13 และ 3.80±0.16มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลําดับ)มีประสิทธิภาพดีกว่ากระเทียมโทนสด (EC50=15.91±0.33และ8.87±0.26 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลําดับ)รวมถึงเมื่อทดสอบด้วยวิธี FRAPกระเทียมโทนดํามีความสามารถในการให้อิเล็กตรอนมากกว่ากระเทียมโทนสด มีค่า FRAP value 443.05±21.24 และ 117.33±4.76มิลลิโมลาร์ ของ Fe2+ต่อกรัมสารสกัด ตามลําดับ ดังนั้นกระเทียมโทนดํามีประสิทธิภาพในการต้านอนุมูลอิสระสูงขึ้น จึงเหมาะที่จะเป็นผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
No physical items for this record

YJ2021 M07

กระเทียมโทนดํามีคุณค่าทางอาหารสูง รวมถึงมีเนื้อสัมผัส กลิ่น และรสชาติต่างจากกระเทียมโทนสด ส่งผลให้บริโภคได้ง่ายขึ้น ดังนั้นงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธีDPPH,ABTS และ FRAPเปรียบเทียบกับกระเทียมโทนสด ผลการวิเคราะห์ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกด้วยวิธี Folin-Ciocalteu colorimetry พบว่ากระเทียมโทนดํามีปริมาณฟีนอลิก(31.15±0.39 มิลลิกรัมสมมูลของกรดแกลลิกต่อกรัมสารสกัด) มากกว่ากระเทียมโทนสด (9.76±0.60 มิลลิกรัมสมมูลของกรดแกลลิกต่อกรัมสารสกัด) และเมื่อทดสอบประสิทธิภาพในการต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธีDPPHและ ABTS กระเทียมโทนดํา (EC50 = 4.3±0.13 และ 3.80±0.16มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลําดับ)มีประสิทธิภาพดีกว่ากระเทียมโทนสด (EC50=15.91±0.33และ8.87±0.26 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลําดับ)รวมถึงเมื่อทดสอบด้วยวิธี FRAPกระเทียมโทนดํามีความสามารถในการให้อิเล็กตรอนมากกว่ากระเทียมโทนสด มีค่า FRAP value 443.05±21.24 และ 117.33±4.76มิลลิโมลาร์ ของ Fe2+ต่อกรัมสารสกัด ตามลําดับ ดังนั้นกระเทียมโทนดํามีประสิทธิภาพในการต้านอนุมูลอิสระสูงขึ้น จึงเหมาะที่จะเป็นผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ

There are no comments on this title.

to post a comment.