สารปรับเนื้อสัมผัสจากเปลือกส้มโอส่วนขาว / Chaiwut Gamonpilas and Pawadee Methacanon.

By: Chaiwut GamonpilasContributor(s): Pawadee MethacanonMaterial type: ArticleArticleSubject(s): FOOD65M06 | อาหาร | ส้มโอ | ผลไม้ | ส้มโอ -- วัสดุเหลือใช้ In: FOOD FOCUS THAILAND 16, 187 (Oct. 2021) 52-56Summary: ส้มโอในประเทศไทยมีผลผลิตต่อปีมากกว่า 2 แสนตัน ส่งผลให้มีเปลือกส้มโอเหลือทิ้งจากการบริโภคภายในประเทศจำนวนมาก ประเทศไทยยังไม่มีการผลิตเพคตินใช้เอง ต้องมีการนำเข้าจากต่างประเทศ การนำเปลือกส้มโอมาสกัดสารเพคตินจึงเป็นโอกาสและทางเลือกที่น่าสนใจและสอดคล้องกับการผลักดันด้านการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ เศราฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว จากการศึกษาการสกัดเพคตินจากเปลือกส้มโอ พบว่า คุณสมบัติเพคตินที่ได้แสดงสมบัติเคมีฟิสิคัล การเกิดเจล และสมบัติเชิงรีโอโลยีที่ดีกว่าเพคตินที่จำหน่ายเชิงพาณิชย์ และยังสามารถใช้เป็นสารเพิ่มความเสถียร ส่วนของเส้นใยที่เตรียมได้จากกากที่เหลือในกระบวนการสกัด มีคุณสมบัติการอุ้มน้ำที่ดี ก่อเจลที่คงรูปได้ดี สามารถนำมาใช้ทดแทนไขมัน เช่น ผลิตภัณฑ์มายองเนสไขมันต่ำ หรือผลิตภัณฑ์ทาขนมปังสูตรลดน้ำตาล ทั้งนี้ การผลิตสารเพคตินและไฟเบอร์จากเปลือกส้มโอยังอยู่ระหว่างการขยายผลไปสู่ระดับ Pilot scale ต่อไป
No physical items for this record

YJ2022 M04

ส้มโอในประเทศไทยมีผลผลิตต่อปีมากกว่า 2 แสนตัน ส่งผลให้มีเปลือกส้มโอเหลือทิ้งจากการบริโภคภายในประเทศจำนวนมาก ประเทศไทยยังไม่มีการผลิตเพคตินใช้เอง ต้องมีการนำเข้าจากต่างประเทศ การนำเปลือกส้มโอมาสกัดสารเพคตินจึงเป็นโอกาสและทางเลือกที่น่าสนใจและสอดคล้องกับการผลักดันด้านการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ เศราฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว จากการศึกษาการสกัดเพคตินจากเปลือกส้มโอ พบว่า คุณสมบัติเพคตินที่ได้แสดงสมบัติเคมีฟิสิคัล การเกิดเจล และสมบัติเชิงรีโอโลยีที่ดีกว่าเพคตินที่จำหน่ายเชิงพาณิชย์ และยังสามารถใช้เป็นสารเพิ่มความเสถียร ส่วนของเส้นใยที่เตรียมได้จากกากที่เหลือในกระบวนการสกัด มีคุณสมบัติการอุ้มน้ำที่ดี ก่อเจลที่คงรูปได้ดี สามารถนำมาใช้ทดแทนไขมัน เช่น ผลิตภัณฑ์มายองเนสไขมันต่ำ หรือผลิตภัณฑ์ทาขนมปังสูตรลดน้ำตาล ทั้งนี้ การผลิตสารเพคตินและไฟเบอร์จากเปลือกส้มโอยังอยู่ระหว่างการขยายผลไปสู่ระดับ Pilot scale ต่อไป

There are no comments on this title.

to post a comment.