ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 429) พ.ศ. 2564 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีสารสกัดแคนนาปิไดออลเป็นส่วนประกอบ / ดิษญา กิตติธนวิมล.

By: ดิษญา กิตติธนวิมลMaterial type: ArticleArticleSubject(s): FOOD65M07 | ยาเสพติด | กัญชา | กัญชง | ผลิตภัณฑ์อาหาร In: FOOD FOCUS THAILAND 17, 192 (Mar. 2022) 24-28 Summary: รัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมและพัฒนากัญชงเป็นพืชเศรษฐกิจด้วยการต่อยอดภูมิปัญญาในการสร้างนวัตกรรมผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูป เพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร นำไปสู่การปรับให้ส่วนต่าง ๆ ของพืชกัญชาและกัญชงเฉพาะที่ได้รับอนุญาตให้ผลิตภายในประเทศไม่จัดเป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ประกอบด้วย เปลือก ลำต้น เส้นใย กิ่งก้าน ราก ใบซึ่งไม่มียอดหรือช่อดอกติดมาด้วย เมล็ดกัญชง น้ำมันจากเมล็ดกัญชง สารสกัดจากเมล็ดกัญชง สารสกัดจากกัญชาหรือกัญชงที่มีสารแคนนาบิไดออล (Cannabidiol; CBD) เป็นส่วนประกอบ รวมถึงกากที่เหลือจากการสกัดเฉพาะที่มีสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (THC) ไม่เกินร้อยละ 0.2 โดยน้ำหนัก มาใช้ในผลิตภัณฑ์สุขภาพได้ สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร การนำส่วนของกัญชาหรือกัญชงมาเป็นส่วนประกอบในอาหารที่ผลิตเพื่อจำหน่ายต้องใช้ตามวัตถุประสงค์ทางอาหาร และมีการควบคุมคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร ภายใต้กฎหมายอาหาร ซึ่งกระทรวงสาธารณสุข ได้ออกประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 429) พ.ศ. 2564 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีสารสกัดแคนนาบิไดออลเป็นส่วนประกอบ เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคและเป็นแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีสารสกัดแคนนาบิไดออลเป็นส่วนประกอบให้มีคุณภาพเหมาะสม และไม่ก่อให้เกิดความเสี่ยงจากการบริโภคเป็นอาหาร
No physical items for this record

YJ2022 M06

รัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมและพัฒนากัญชงเป็นพืชเศรษฐกิจด้วยการต่อยอดภูมิปัญญาในการสร้างนวัตกรรมผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูป เพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร นำไปสู่การปรับให้ส่วนต่าง ๆ ของพืชกัญชาและกัญชงเฉพาะที่ได้รับอนุญาตให้ผลิตภายในประเทศไม่จัดเป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ประกอบด้วย เปลือก ลำต้น เส้นใย กิ่งก้าน ราก ใบซึ่งไม่มียอดหรือช่อดอกติดมาด้วย เมล็ดกัญชง น้ำมันจากเมล็ดกัญชง สารสกัดจากเมล็ดกัญชง สารสกัดจากกัญชาหรือกัญชงที่มีสารแคนนาบิไดออล (Cannabidiol; CBD) เป็นส่วนประกอบ รวมถึงกากที่เหลือจากการสกัดเฉพาะที่มีสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (THC) ไม่เกินร้อยละ 0.2 โดยน้ำหนัก มาใช้ในผลิตภัณฑ์สุขภาพได้ สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร การนำส่วนของกัญชาหรือกัญชงมาเป็นส่วนประกอบในอาหารที่ผลิตเพื่อจำหน่ายต้องใช้ตามวัตถุประสงค์ทางอาหาร และมีการควบคุมคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร ภายใต้กฎหมายอาหาร ซึ่งกระทรวงสาธารณสุข ได้ออกประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 429) พ.ศ. 2564 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีสารสกัดแคนนาบิไดออลเป็นส่วนประกอบ เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคและเป็นแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีสารสกัดแคนนาบิไดออลเป็นส่วนประกอบให้มีคุณภาพเหมาะสม และไม่ก่อให้เกิดความเสี่ยงจากการบริโภคเป็นอาหาร

There are no comments on this title.

to post a comment.