มันขี้หนู พืชอัตลักษณ์ของภาคใต้ / สายชล บุญรัศมี.

By: สายชล บุญรัศมีMaterial type: ArticleArticleSubject(s): FOOD65M06 | อาหาร | พืชอาหาร | พืชให้แป้ง | พืชเศรษฐกิจ | ผลิตผลเกษตร In: กสิกร 95, 2 (ธ.ค. 2564 - ม.ค. 2565) 17-20 Summary: มันขี้หนูเป็นพืชให้คาร์โบไฮเดรต มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Plectranthus rotundifolius จัดอยู่ในวงศ์ Lamiaceae เป็นพืชอัตลักษณ์ที่สำคัญชนิดหนึ่งของภาคใต้ เกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกมันขี้หนูโดยวิถีวัฒนธรรมการเกษตรที่สืบต่อกันมา เนื่องจากปลูกและดูแลรักษาง่าย ประโยชน์ส่วนใหญ่เป็นอาหารมนุษย์ ซึ่งสามารถรับประทานเป็นอาหารหลักหรือปรุงร่วมกับพืชชนิดอื่นได้ โดยในหัวสด 100 กรัม ประกอบด้วย น้ำตาลรีดิวซ์ 26 มิลลิกรัม โปรตีน 13.6-14.6 มิลลิกรัม ไขมัน 1.2 เปอร์เซ็นต์ เยื่อใย 1.6 เปอร์เซ็นต์ ฟอสฟอรัส 36 มิลลิกรัม แคลเซียม 29 มิลลิกรัม วิตามินเอ 13.6 มิลลิกรัม และวิตามินซี 10.3 มิลลิกรัม นอกจากนี้มันขี้หนูสามารถใช้เป็นอาหารสัตว์และเพาะปลูกเป็นไม้กระถางเพื่อประดับตกแต่งสถานที่ได้ รวมทั้งยังมีสารทุติยภูมิจำนวนมาก ซึ่งแสดงให้เห็นถึงสามารถนำมาประยุกต์ใช้เพื่อรักษาและมีสรรพคุณทางยาอีกด้วย
No physical items for this record

YJ2022 M06

มันขี้หนูเป็นพืชให้คาร์โบไฮเดรต มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Plectranthus rotundifolius จัดอยู่ในวงศ์ Lamiaceae เป็นพืชอัตลักษณ์ที่สำคัญชนิดหนึ่งของภาคใต้ เกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกมันขี้หนูโดยวิถีวัฒนธรรมการเกษตรที่สืบต่อกันมา เนื่องจากปลูกและดูแลรักษาง่าย ประโยชน์ส่วนใหญ่เป็นอาหารมนุษย์ ซึ่งสามารถรับประทานเป็นอาหารหลักหรือปรุงร่วมกับพืชชนิดอื่นได้ โดยในหัวสด 100 กรัม ประกอบด้วย น้ำตาลรีดิวซ์ 26 มิลลิกรัม โปรตีน 13.6-14.6 มิลลิกรัม ไขมัน 1.2 เปอร์เซ็นต์ เยื่อใย 1.6 เปอร์เซ็นต์ ฟอสฟอรัส 36 มิลลิกรัม แคลเซียม 29 มิลลิกรัม วิตามินเอ 13.6 มิลลิกรัม และวิตามินซี 10.3 มิลลิกรัม นอกจากนี้มันขี้หนูสามารถใช้เป็นอาหารสัตว์และเพาะปลูกเป็นไม้กระถางเพื่อประดับตกแต่งสถานที่ได้ รวมทั้งยังมีสารทุติยภูมิจำนวนมาก ซึ่งแสดงให้เห็นถึงสามารถนำมาประยุกต์ใช้เพื่อรักษาและมีสรรพคุณทางยาอีกด้วย

There are no comments on this title.

to post a comment.