กินอาหารเย็นยามดึกเสี่ยงโรคอ้วน / วินัย ดะห์ลัน.

By: วินัย ดะห์ลันMaterial type: ArticleArticleSubject(s): FOOD66M03 | อาหาร | อินซูลิน | ฮอร์โมน | ความหิว | โรคอ้วน | การเผาผลาญ | Insulin | Metabolism In: HALAL INSIGHT ISSUE 63 (Oct. 2022) 4-5Summary: รู้กันมานานว่าคนที่ชอบกิบอาหารเย็นยามดึกใกล้เวลานอน มักอ้วนง่ายกว่าคนที่กินอาหารช่วงเย็นห่างจากเวลานอน ค่อนข้างมาก ซึ่งมีงานวิจัยผลของการกินอาหารมื้อดึกในมนุษย์ ตีพิมพ์ในวารสาร Cell Metabolism โดยได้ศึกษาในผู้หญิง 16 คน แบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ส่วน คือ ให้อาสาสมัครหญิงกินอาหารเวลาเย็น และกินอาหารในยามดึก โดยทั้งสองมื้อห่างกัน 4 ชั่วโมง จากนั้นทำการตรวจระดับฮอร์โมนรวมถึงเมตาบอลิซึมต่าง ๆ ในร่างกาย พบว่า เวลาของการกินอาหารมีผลต่อฮอร์โมนหิวกรีลิน (Ghrelin) ฮอร์โมนอิ่มเล็พติน (Leptin) และอินซูลิน ซึ่งช่วงดึกฮอร์โมนอิ่มเล็พตินลดการทำงานลง ส่งผลให้ร่างกายควบคุมความอิ่มจากการกินอาหารได้ยาก นอกจากนี้คนกินมื้อดึก การเผาผลาญพลังงงานเกิดขึ้นได้น้อย ความร้อนเกิดขึ้นต่ำ อันเป็นผลจากการทำงานของอินซุลินทำให้ร่างกายสะสมไขมันได้ง่ายขึ้นและอาจนำไปสู่การเป็นโรคอ้วนได้
No physical items for this record

YJ2023 M03

รู้กันมานานว่าคนที่ชอบกิบอาหารเย็นยามดึกใกล้เวลานอน มักอ้วนง่ายกว่าคนที่กินอาหารช่วงเย็นห่างจากเวลานอน ค่อนข้างมาก ซึ่งมีงานวิจัยผลของการกินอาหารมื้อดึกในมนุษย์ ตีพิมพ์ในวารสาร Cell Metabolism โดยได้ศึกษาในผู้หญิง 16 คน แบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ส่วน คือ ให้อาสาสมัครหญิงกินอาหารเวลาเย็น และกินอาหารในยามดึก โดยทั้งสองมื้อห่างกัน 4 ชั่วโมง จากนั้นทำการตรวจระดับฮอร์โมนรวมถึงเมตาบอลิซึมต่าง ๆ ในร่างกาย พบว่า เวลาของการกินอาหารมีผลต่อฮอร์โมนหิวกรีลิน (Ghrelin) ฮอร์โมนอิ่มเล็พติน (Leptin) และอินซูลิน ซึ่งช่วงดึกฮอร์โมนอิ่มเล็พตินลดการทำงานลง ส่งผลให้ร่างกายควบคุมความอิ่มจากการกินอาหารได้ยาก นอกจากนี้คนกินมื้อดึก การเผาผลาญพลังงงานเกิดขึ้นได้น้อย ความร้อนเกิดขึ้นต่ำ อันเป็นผลจากการทำงานของอินซุลินทำให้ร่างกายสะสมไขมันได้ง่ายขึ้นและอาจนำไปสู่การเป็นโรคอ้วนได้

There are no comments on this title.

to post a comment.