ระบบการนำส่งยาจากพืชสู่เป้าหมายที่ตอบสนองต่อการต้านโรคอ้วน / ซูไนนี มาหะมะ.

By: ซูไนนี มาหะมะMaterial type: ArticleArticleSubject(s): FOOD66M03 | ตัวนำยา | ระบบนำส่งยา | สมุนไพร | พืชสมุนไพร | ผลิตภัณฑ์สุขภาพ | อาหารเพื่อสุขภาพ | อาหารเสริม | พฤกษเคมี | Botanical chemistry In: HALAL INSIGHT ISSUE 64 (Nov. 2022) 26-27Summary: โรคอ้วนเป็นสภาวะการสะสมของไขมันที่ผิดปกติหรือมากเกินไป เสี่ยงต่อการเกิดโรคแทรกซ้อน เช่น โรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรคมะเร็ง โรคหัวใจ โรคระบบทางเดินหายใจ โควิด-19 ฯลฯ มีงานวิจัยพบว่าสมันไพรที่มีฤทธิ์แสดงออกทางชีวภาพที่สามารถช่วยรักษาโรคอ้วนได้ระดับสูง เช่น EGCG (Epigallocatechin gallate) สกัดจากชาเขียว เคอร์คิวมิน (Curcumin) จากขทิ้นชัน ฯลฯ แต่มีข้อจำกัดในการขนส่งและปลดปล่อยสารในร่างกายผู้ป่วยที่บริเวณเป้าหมายในการรักษา จึงมีการพัฒนาระบบการนำส่งยาหรือพฤกษเคมีสำคัญในรูปแบบไฟโตโซม (Phytosomes) เป็นการห่อหุ้มสาระสำคัญไว้ภายในอนุภาคที่มีฟอสฟาติดิลโคลีนบริเวณผิวรอบนอก เพื่อรักษาคุณภาพและความคงตัวของฤทธิ์ทางชีวภาพในระบบลำไส้และระบบเมตาบอลิซึมของร่างกายทำให้สามารถนำส่งสารออกฤทธิ์ได้ที่บริเวณเป้าหมาย และเพิ่มประสิทธิภาพการดูดซึมไปใช้ได้มากขึ้นอีกด้วย
No physical items for this record

YJ2023 M03

โรคอ้วนเป็นสภาวะการสะสมของไขมันที่ผิดปกติหรือมากเกินไป เสี่ยงต่อการเกิดโรคแทรกซ้อน เช่น โรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรคมะเร็ง โรคหัวใจ โรคระบบทางเดินหายใจ โควิด-19 ฯลฯ มีงานวิจัยพบว่าสมันไพรที่มีฤทธิ์แสดงออกทางชีวภาพที่สามารถช่วยรักษาโรคอ้วนได้ระดับสูง เช่น EGCG (Epigallocatechin gallate) สกัดจากชาเขียว เคอร์คิวมิน (Curcumin) จากขทิ้นชัน ฯลฯ แต่มีข้อจำกัดในการขนส่งและปลดปล่อยสารในร่างกายผู้ป่วยที่บริเวณเป้าหมายในการรักษา จึงมีการพัฒนาระบบการนำส่งยาหรือพฤกษเคมีสำคัญในรูปแบบไฟโตโซม (Phytosomes) เป็นการห่อหุ้มสาระสำคัญไว้ภายในอนุภาคที่มีฟอสฟาติดิลโคลีนบริเวณผิวรอบนอก เพื่อรักษาคุณภาพและความคงตัวของฤทธิ์ทางชีวภาพในระบบลำไส้และระบบเมตาบอลิซึมของร่างกายทำให้สามารถนำส่งสารออกฤทธิ์ได้ที่บริเวณเป้าหมาย และเพิ่มประสิทธิภาพการดูดซึมไปใช้ได้มากขึ้นอีกด้วย

There are no comments on this title.

to post a comment.