ภัยเงียบของอาหารแปรรูปจากเนื้อสัตว์

Material type: ArticleArticleSubject(s): FOOD66M06 | อาหารแปรรูป | อาหาร | ผลิตภัณฑ์อาหาร | เนื้อสัตว์ | ฮีโมโกลบิน | ไนไตรท์ | ไนเตรท | การปนเปื้อนในอาหาร | Nitrites | Nitrates In: จดหมายข่าวผู้ตรวจการแผ่นดิน 13, 109 (เม.ย. 2566) 8-9Summary: ปัจจุบันผู้บริโภคนิยมรับประทานอาหารแปรรูปมากขึ้น เนื่องจากช่วยเพิ่มความสะดวกสบายและง่ายต่อการบริโภค แต่การรับประทานอาหารแปรรูปในปริมาณมากเกินไปก็อาจเสี่ยงเกิดอันตรายต่อสุขภาพได้ เช่น การบริโภคอาหารแปรรูปเนื้อสัตว์ อาจก่อให้เกิดภาวะเมธฮีโมโกลบินในเลือด หรือ เมธฮีโมโกลบินนีเมีย (Methemoglobinemia) เป็นภาวะที่ “ฮีโมโกลบิน” ในเม็ดเลือดแดงทำปฏิกิริยากับสารเคมีกลายเป็น “เมธฮีโมโกลบิน” ซึ่งในภาวะปกติฮีโมโกลบินจะทำหน้าที่จับกับออกซิเจน เมื่อกลายเป็นเมธฮีโมโกลบินจะไม่สามารถจับกับออกซิเจนได้ ทำให้ร่างกายเกิดภาวะขาดออกซิเจน และสีเม็ดเลือดเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลดำ สารเคมีที่ทำให้เกิดภาวะเมธฮีโมโกลบินนีเมีย คาดว่าในอาหารมีปริมาณดินประสิวเกินขนาด ซึ่งสารไนไตรท์ – ไนเตรท เป็นสารเคมีที่นิยมใช้เป็นสารกันเสีย และทำให้สีเนื้อสัตว์เป็นสีแดงอมชมพู หากได้รับในปริมาณที่สูงเกินไปจะส่งผลต่อสุขภาพได้
No physical items for this record

YJ2023 M06

ปัจจุบันผู้บริโภคนิยมรับประทานอาหารแปรรูปมากขึ้น เนื่องจากช่วยเพิ่มความสะดวกสบายและง่ายต่อการบริโภค แต่การรับประทานอาหารแปรรูปในปริมาณมากเกินไปก็อาจเสี่ยงเกิดอันตรายต่อสุขภาพได้ เช่น การบริโภคอาหารแปรรูปเนื้อสัตว์ อาจก่อให้เกิดภาวะเมธฮีโมโกลบินในเลือด หรือ เมธฮีโมโกลบินนีเมีย (Methemoglobinemia) เป็นภาวะที่ “ฮีโมโกลบิน” ในเม็ดเลือดแดงทำปฏิกิริยากับสารเคมีกลายเป็น “เมธฮีโมโกลบิน” ซึ่งในภาวะปกติฮีโมโกลบินจะทำหน้าที่จับกับออกซิเจน เมื่อกลายเป็นเมธฮีโมโกลบินจะไม่สามารถจับกับออกซิเจนได้ ทำให้ร่างกายเกิดภาวะขาดออกซิเจน และสีเม็ดเลือดเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลดำ สารเคมีที่ทำให้เกิดภาวะเมธฮีโมโกลบินนีเมีย คาดว่าในอาหารมีปริมาณดินประสิวเกินขนาด ซึ่งสารไนไตรท์ – ไนเตรท เป็นสารเคมีที่นิยมใช้เป็นสารกันเสีย และทำให้สีเนื้อสัตว์เป็นสีแดงอมชมพู หากได้รับในปริมาณที่สูงเกินไปจะส่งผลต่อสุขภาพได้

There are no comments on this title.

to post a comment.