เสริมสร้างโภชนาการแบบองค์รวมด้วยการเลือกบริโภคอาหารอย่างเหมาะสม / ฐากูร กู้เกียรติกูล.

By: ฐากูร กู้เกียรติกูลMaterial type: ArticleArticleSubject(s): FOOD66M09 | อาหาร | ผลิตภัณฑ์อาหาร | โภชนาการ | อุตสาหกรรมอาหาร | โปรตีนจากพืช | อาหารโปรตีนจากพืช In: FOOD FOCUS THAILAND 18, 207 (Jun. 2023) 92-94 Summary: โภชนาการแบบองค์รวม (Holistic Nutrition) เป็นการประยุกต์ใช้แนวทางด้านโภชนาการอาหารเพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ดีต่อสุขภาพ ทฤษฎี 2:1:1 เป็นแนวคิดด้านโภชนาการสำหรับเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายที่นำมาปฏิบัติอย่างแพร่หลาย โดยแบ่งประเภทของอาหารที่ใส่ลงไปในจานเป็น ผัก 2 ส่วน ข้าวหรือแป้ง 1 ส่วน และเนื้อสัตว์ 1 ส่วน ปัจจุบัน ทฤษฎีนี้ถูกนำมาใช้ในอุตสาหกรรมอาหารเพื่อช่วยยกระดับคุณภาพชีวิต ทำให้ผู้บริโภคได้รับประทานอาหารในสัดส่วนที่พอเหมาะ ทฤษฎี 2:1:1 ได้รับความนิยมในประเทศไทย เนื่องจากช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรค ปรับใช้ได้ง่ายโดยมีผลิตภัณฑ์โปรตีนจากพืชที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง มีนวัตกรรมปรับปรุงลักษณะเนื้อสัมผัสอาหารให้ใกล้เคียงกับเนื้อสัตว์จริง ทำให้ผู้บริโภคเข้าถึงรสชาติอาหารและได้รับคุณค่าโภชนาการจากผักผ่านนวัตกรรมการแปรรรูปได้ครบถ้วน ส่งผลให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวทางการบริโภคอาหารรูปแบบใหม่ เช่น ผงผักเคล ที่มีวิตามินเอสูง ผงอะโวคาโดที่มีโอเมก้า 3 สูง โดยนำมาบริโภคได้หลายรูปแบบ เช่น โรยข้าว ปั่นผสมเครื่องดื่ม นักวิจัยหรือผู้ผลิตอาหารสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมโปรตีนจากพืช ให้มีรสชาติ เนื้อสัมผัส ใกล้เคียงกับเนื้อสัตว์ได้มากขึ้น จะช่วยดึงดูดผู้บริโภคให้สนใจ และได้รับโภชนาการแบบองค์รวมในการบริโภคอาหาร
No physical items for this record

YJ2023 M07

โภชนาการแบบองค์รวม (Holistic Nutrition) เป็นการประยุกต์ใช้แนวทางด้านโภชนาการอาหารเพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ดีต่อสุขภาพ ทฤษฎี 2:1:1 เป็นแนวคิดด้านโภชนาการสำหรับเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายที่นำมาปฏิบัติอย่างแพร่หลาย โดยแบ่งประเภทของอาหารที่ใส่ลงไปในจานเป็น ผัก 2 ส่วน ข้าวหรือแป้ง 1 ส่วน และเนื้อสัตว์ 1 ส่วน ปัจจุบัน ทฤษฎีนี้ถูกนำมาใช้ในอุตสาหกรรมอาหารเพื่อช่วยยกระดับคุณภาพชีวิต ทำให้ผู้บริโภคได้รับประทานอาหารในสัดส่วนที่พอเหมาะ ทฤษฎี 2:1:1 ได้รับความนิยมในประเทศไทย เนื่องจากช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรค ปรับใช้ได้ง่ายโดยมีผลิตภัณฑ์โปรตีนจากพืชที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง มีนวัตกรรมปรับปรุงลักษณะเนื้อสัมผัสอาหารให้ใกล้เคียงกับเนื้อสัตว์จริง ทำให้ผู้บริโภคเข้าถึงรสชาติอาหารและได้รับคุณค่าโภชนาการจากผักผ่านนวัตกรรมการแปรรรูปได้ครบถ้วน ส่งผลให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวทางการบริโภคอาหารรูปแบบใหม่ เช่น ผงผักเคล ที่มีวิตามินเอสูง ผงอะโวคาโดที่มีโอเมก้า 3 สูง โดยนำมาบริโภคได้หลายรูปแบบ เช่น โรยข้าว ปั่นผสมเครื่องดื่ม นักวิจัยหรือผู้ผลิตอาหารสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมโปรตีนจากพืช ให้มีรสชาติ เนื้อสัมผัส ใกล้เคียงกับเนื้อสัตว์ได้มากขึ้น จะช่วยดึงดูดผู้บริโภคให้สนใจ และได้รับโภชนาการแบบองค์รวมในการบริโภคอาหาร

There are no comments on this title.

to post a comment.