น้ำตาลเทียมขม / แก้ว กังสดาลอำไพ.

By: แก้ว กังสดาลอำไพMaterial type: ArticleArticleSubject(s): FOOD67M03 | สารให้ความหวาน | แอสปาร์เทม | สารก่อมะเร็ง -- มนุษย์ | Aspartame In: ฉลาดซื้อ 30, 271 (ก.ย. 2566) 64-66Summary: วันที่ 29 มิถุนายน 2566 องค์การอนามัยโลก (WHO) ประกาศว่า สารให้ความหวานแทนน้ำตาลทรายคือ แอสปาร์แตม (aspartame) ถูกจัดระดับการก่ออันตรายต่อสุขภาพนั้นในกลุ่ม 2B possibly carcinogenic to humans คือ น่าจะเป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์ มีหลักฐานจำกัดเกี่ยวกับการก่อมะเร็งในมนุษย์และมีหลักฐานไม่เพียงพอในสัตว์ทดลอง สิ่งที่คาดว่าน่าจะก่อให้เกิดสารก่อมะเร็งในมนุษย์มี 325 ชนิด เช่น ผักดอง, สารสกัดจากใบว่านหางจระเข้, Ochratoxin A, 1,6-Dinitropyrene เป็นต้น ซึ่งในปัจจุบันมีการใช้แอสปาร์แตมในผลิตภัณฑ์ยอดนิยมมากมาย เช่น น้ำอัดลมไร้พลังงาน อาหารเช้าทำจากธัญพืช หมากฝรั่ง ยาสีฟัน น้ำตาลเทียมบรรจุซองสำหรับชงกาแฟและอื่น ๆ ทางองค์การอนามัยโลกได้แนะนำว่า ให้ทำการศึกษาที่มากและดีขึ้น พร้อมกับการติดตามผลที่ยาวนานขึ้น เพื่อประเมินหาหลักฐานการก่อมะเร็งที่น่าเชื่อถือมากขึ้น อย่างไรก็ตามข้อมูลของ Codex กล่าวว่าแอสปาร์แตมยังปลอดภัยในระดับที่แนะนำให้บริโภคได้ ทางที่ดีผู้บริโภคควรรับประทานแอสปาร์แตมในปริมาณที่เหมาะสม หรืออาจเปลี่ยนไปบริโภคผลิตภัณฑ์ที่ใช้สารให้ความหวานแทนน้ำตาลชนิดอื่นที่ดูมีความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพน้อยกว่า เช่น สารในกลุ่มน้ำตาลอัลกอฮอล
No physical items for this record

YJ2024 M02

วันที่ 29 มิถุนายน 2566 องค์การอนามัยโลก (WHO) ประกาศว่า สารให้ความหวานแทนน้ำตาลทรายคือ แอสปาร์แตม (aspartame) ถูกจัดระดับการก่ออันตรายต่อสุขภาพนั้นในกลุ่ม 2B possibly carcinogenic to humans คือ น่าจะเป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์ มีหลักฐานจำกัดเกี่ยวกับการก่อมะเร็งในมนุษย์และมีหลักฐานไม่เพียงพอในสัตว์ทดลอง สิ่งที่คาดว่าน่าจะก่อให้เกิดสารก่อมะเร็งในมนุษย์มี 325 ชนิด เช่น ผักดอง, สารสกัดจากใบว่านหางจระเข้, Ochratoxin A, 1,6-Dinitropyrene เป็นต้น ซึ่งในปัจจุบันมีการใช้แอสปาร์แตมในผลิตภัณฑ์ยอดนิยมมากมาย เช่น น้ำอัดลมไร้พลังงาน อาหารเช้าทำจากธัญพืช หมากฝรั่ง ยาสีฟัน น้ำตาลเทียมบรรจุซองสำหรับชงกาแฟและอื่น ๆ ทางองค์การอนามัยโลกได้แนะนำว่า ให้ทำการศึกษาที่มากและดีขึ้น พร้อมกับการติดตามผลที่ยาวนานขึ้น เพื่อประเมินหาหลักฐานการก่อมะเร็งที่น่าเชื่อถือมากขึ้น อย่างไรก็ตามข้อมูลของ Codex กล่าวว่าแอสปาร์แตมยังปลอดภัยในระดับที่แนะนำให้บริโภคได้ ทางที่ดีผู้บริโภคควรรับประทานแอสปาร์แตมในปริมาณที่เหมาะสม หรืออาจเปลี่ยนไปบริโภคผลิตภัณฑ์ที่ใช้สารให้ความหวานแทนน้ำตาลชนิดอื่นที่ดูมีความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพน้อยกว่า เช่น สารในกลุ่มน้ำตาลอัลกอฮอล

There are no comments on this title.

to post a comment.