ขยายผลเทคโนโลยีเห็ดเรืองแสงสิรินรัศมี ควบคุมโรครากเน่าโคนเน่าทุเรียน / จิรวดี แดงพวง และคนอื่นๆ.

By: จิรวดี แดงพวงContributor(s): อลงกต อุทัยธนกิจ | วิจิตรา โชคบุญ | เครือวัลย์ ดาวงษ์Material type: ArticleArticleSubject(s): FOOD67M05 | ทุเรียน -- รากเน่า -- การแก้ปัญหา | ทุเรียน -- รากเน่า -- การควบคุม | เห็ดเรืองแสง -- การใช้ประโยชน์ | เห็ดเรืองแสง -- น้ำหมักชีวภาพ In: กสิกร 97, 1 (ต.ค.-พ.ย. 2566) 29-34Summary: ทุเรียน เป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัดจันทบุรี แต่เกษตรกรมักประสบปัญหาโรครากเน่าและโคนเน่าทุเรียนจากเชื้อราไฟทอปธอร่า โดยเชื้อรานี้สามารถเข้าทำลายทุเรียนได้ทุกส่วน ได้แก่ ราก ลำต้น กิ่ง ใบ ผล ทำให้ต้นทุเรียนที่กำลังเจริญเติบโตและให้ผลผลิตยืนต้นตายได้ การใช้ประโยชน์จากเห็ดเรืองแสงสิรินรัศมีจึงเป็นวิธีหนึ่งในการควบคุมโรครากเน่าโคนเน่าทุเรียน ซึ่งเห็ดเรืองแสงสิรินรัศมี มีสารออริซิน เอ (aurisin A) เป็นสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ มีผลยับยั้งการสร้างเส้นใยและการสร้างสปอร์หรือส่วนขยายพันธุ์ของเชื้อราไฟทอปธอร่า ซึ่งการควบคุมโรครากเน่าโคนเน่าทุเรียนด้วยวิธีดังกล่าวเป็นทางเลือกหนึ่งในการลด ละ เลิก การใช้สารเคมี เพื่อความปลอดภัยต่อผู้ใช้ ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม
No physical items for this record

YJ2024 M02

ทุเรียน เป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัดจันทบุรี แต่เกษตรกรมักประสบปัญหาโรครากเน่าและโคนเน่าทุเรียนจากเชื้อราไฟทอปธอร่า โดยเชื้อรานี้สามารถเข้าทำลายทุเรียนได้ทุกส่วน ได้แก่ ราก ลำต้น กิ่ง ใบ ผล ทำให้ต้นทุเรียนที่กำลังเจริญเติบโตและให้ผลผลิตยืนต้นตายได้ การใช้ประโยชน์จากเห็ดเรืองแสงสิรินรัศมีจึงเป็นวิธีหนึ่งในการควบคุมโรครากเน่าโคนเน่าทุเรียน ซึ่งเห็ดเรืองแสงสิรินรัศมี มีสารออริซิน เอ (aurisin A) เป็นสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ มีผลยับยั้งการสร้างเส้นใยและการสร้างสปอร์หรือส่วนขยายพันธุ์ของเชื้อราไฟทอปธอร่า ซึ่งการควบคุมโรครากเน่าโคนเน่าทุเรียนด้วยวิธีดังกล่าวเป็นทางเลือกหนึ่งในการลด ละ เลิก การใช้สารเคมี เพื่อความปลอดภัยต่อผู้ใช้ ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม

There are no comments on this title.

to post a comment.