เกษิณี เกตุเลขา.

อาหารฟังก์ชัน อาหารโพรไบโอติก / เกษิณี เกตุเลขา.

YJ2023 M03

โพรไบโอติกแบคทีเรียอาศัยอยู่ในลำไส้มนุษย์หลายพันล้านตัว มีความสำคัญและมีบทบาทในต่อกลไกของร่างกาย ไม่เฉพาะต่อระบบการย่อยและการดูดซึทสารอาหาร แต่รวมถึงกระบวนการอื่น ๆ ด้วย โดยบทความนี้กล่าวถึงบทบาทของโพรไบโอติกที่ส่งผลต่อภาวะความผิดปกติของระบบเมตาบอลิวึมและส่งผลต่อการจดจำของสมอง ยกตัวอย่าง โรคอ้วนซึ่งเกี่ยวข้องกับความผิดปกติของระบบเผาผลาญอาหาร สาเหตุหนึ่งเกิดจากความไม่สมดุลของระบบแบคทีเรียในลำไส้ ดังนั้นการควบคุมภาวะความสมดุลของแบคทีเรียในลำไส้จึงส่งผลดีต่อการรักษาผู้ป่วยโรคอ้วน นอกจากนี้ แบคที่เรียในลำไส้ยังส่งผลต่อระบบการจดจำของสมองมีงานวิจัยจำนวนมากพบว่า ความไม่สมดุลของแบคที่เรียในลำไส้ส่งผลให้เกิดโรคอัลไซเมอร์ในผู้ป่วยสูงอายุอีกด้วย กลุ่มอาหารเสริมโพรไบโอติกมีทั้งกลุ่ม dairy food เช่น โยเกิร์ต และ กลุ่ม non-dairy food เช่น กิมจิ คอมบูชา อาหารกลุ่มนี้เกิดจากกระบวนการหมักด้วยแบคทีเรียและยีสต์ชนิดดี เปลี่ยนนมหรือน้ำตาลเป็นสารใหม่ที่มีคุณสมบัติเป็นกรด มีรสเปรี้ยวและมีกลิ่นเฉพาะตัว ทำให้รู้สึกสดชื่น เสริมภูมิคุ้มกันโรคได้ดี สอดคล้องกับหนึ่งในแนวทางของอาหารแห่งอนาคต


FOOD66M03


อาหารฟังก์ชัน.
โพรไบโอติก.
อาหารเพื่อสุขภาพ.
แบคทีเรีย.
อาหารหมัก.
Functional foods.
Probiotics.

HALAL INSIGHT ISSUE 64 (Nov. 2022) 15-17