000 05148nab a22002417a 4500
008 200929b2562 xxu||||| |||| 00| 0 tha d
100 0 _aปฏิญญา จิยิพงศ์.
_9105936
245 1 0 _aเทคนิคการผลิตผลิตภัณฑ์ปลาส้มเพื่อลดการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ /
_cปฏิญญา จิยิพงศ์, จันทร์ฉาย ยศศักดิ์ศรี และเจนจิรา จันทร์มี.
518 _aYJ2020 M11
520 _aปลาส้ม เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการหมัก โดยนำปลามาหมักด้วยเกลือ ข้าวเจ้าสุกหรือข้าวเหนียวนึ่ง และกระเทียมในปริมาณที่เหมาะสม ทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้องประมาณ 3-5 วัน จะได้ปลาส้มที่มีรสเปรี้ยว ในกระบวนการหมักอาหารมีปัจจัยที่มีผลต่อการหมัก ได้แก่ ความเข้มข้นหรือปริมาณเกลือ อุณหภูมิรวมทั้งหากไม่มีสุขลักษณะที่ดีในการผลิต จะเกิดการปนเปื้อนของจุลินทรีย์ ทำให้คุณภาพของผลิตภัณฑ์ไม่เป็นไปตามาตรฐานได้ กรมวิทยาศาสตร์บริการ โดยกลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม สำนักเทคโนโลยีชุมชน ได้ทำการศึกษาเทคนิคการผลิตผลิตภัณฑ์ปลาส้มเพื่อลดการปนเปื้อนของจุลินทรีย์โดยมีวิธีการที่สำคัญ คือ การลดการปนเปื้อนจุลินทรีย์ที่ผิวของเนื้อปลาก่อนการหมัก โดยล้างทำความสะอาดปลา พักให้สะเด็ดน้ำนำไปแช่สารละลายน้ำเกลือเข้มข้นร้อยละ 10 แล้วนำมาแช่สารละลายน้ำส้มสายชูร้อยละ 1 จากนั้นนำไปหมักกับเกลือโดยปริมาณเกลือที่เหมาะสมในกระบวนการหมักปลาส้ม คือ ใช้เกลือร้อยละ 4.5 ผสมด้วยกระเทียมร้อยละ 10 ข้าวเหนียวร้อยละ 8 น้ำตาลร้อยละ 2 คลุกเคล้าส่วนผสมทั้งหมดให้เข้ากัน นำใส่ภาชนะสะอาดหมักที่อุณหภูมิห้อง 3-5 วัน โดยผลิตภัณฑ์ปลาส้มที่ได้มีคุณภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐาน มผช. 26/2557 ซึ่งกรมวิทยาศาสตร์บริการ ได้ถ่ายทอดเทคนิคการผลิตผลิตภัณฑ์ปลาส้มเพื่อลดการปนเปื้อนของจุลินทรีย์ให้แก่กลุ่มวิสาหกิจส้มปลาหน้ากระเทียมบ้านโนนปอแดง จังหวัดหนองบัวลำภู และกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรโคกป่าฝาง จังหวัดหนองคาย ส่งผลให้เกิดรายได้ สร้างชุมชนเข้าแข็ง เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจที่ยั่งยืน.
648 _aFOOD63M11
_9171798
650 4 _aปลา.
_9177170
650 4 _aอาหาร.
_9177171
650 4 _aการถนอมอาหาร.
_9177172
650 4 _aการหมักปลา.
_9171415
650 4 _aการปนเปื้อนของจุลินทรีย์.
_9155756
650 4 _aการปนเปื้อนในอาหาร.
_9163833
700 0 _aจันทร์ฉาย ยศศักดิ์ศรี
_9156219
700 0 _aเจนจิรา จันทร์มี.
_9171076
773 _tวารสารกรมวิทยาศาสตร์บริการ
_g68, 211 (ก.ย. 2562) 14-15
850 _aเอกสารภาษาไทย (ชั้น 5)
942 _2lcc
999 _c151952
_d151952