000 04867nab a22002657a 4500
008 210503b2562 ||||| |||| 00| 0 tha d
100 0 _aหยาดรุ้ง สุวรรณรัตน์.
_9201396
245 1 0 _aการสกัดและการประยุกต์ใช้เพคตินจากเปลือกทุเรียน Extraction and application of pectin from durian rind
_h[Electronic resource] /
_cหยาดรุ้ง สุวรรณรัตน์, จิรพร สวัสดิการ และรุ่งทิวา สุวรรณรัตน์.
518 _aYJ2021 M06
520 _aการศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการสกัดเพคตินจากเปลือกทุเรียนและประยุกต์ใช้ในการทำแยมและเยลลี่ ทำได้โดยนำเปลือกทุเรียนส่วนสีขาวมาบด ทำแห้งและสกัดโดยใช้กรดไฮโดรคลอริก ความเข้มข้น 0.05 โมลาร์ น้ำกลั่นและความดันไอสูง จากผลการทดลอง พบว่า วิธีการสกัดที่เหมาะสมในการสกัดเพคตินจากเปลือกทุเรียน คือ การสกัดด้วยกรดไฮโดรคลอริก เนื่องจากค่าระดับการเกิดเอสเทอริฟิเคชั่น ปริมาณเมทอกซิล และปริมาณกรดกาแลคทูโรนิค มีค่าใกล้เคียงกับเพคตินทางการค้า การทดลองต่อไปทำโดยสกัดเพคตินจากเปลือกทุเรียนด้วยกรดไฮโดรคลอริกที่อุณหภูมิและเวลาต่าง ๆ ซึ่งผลการทดลอง พบว่า อุณหภูมิและเวลาที่เหมาะสมในการสกัดเพคตินจากเปลือกทุเรียน คือ อุณหภูมิ 90 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 5 ชั่วโมง เพคตินที่สกัดได้จัดเป็นเพคตินชนิดเมทอกซิลสูง มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับเพคตินเกรดโรงงานเมื่อเปรียบเทียบกับเพคตินทางการค้าตามข้อกำหนดของคณะกรรมการด้านวัตถุเจือปนอาหาร เมื่อนำเพคตินที่สกัดไปประยุกต์ใช้ในแยมสับปะรดและเยลลี่ส้ม และทดสอบทางประสาทสัมผัสโดยใช้ผู้ทดสอบชิมที่ได้รับการฝึกฝน พบว่าผู้ทดสอบชิมให้การยอมรับแยมสับปะรดและเยลลี่ส้มที่มีการเติมเพคตินที่สกัดได้จากเปลือกทุเรียนในระดับชอบเล็กน้อย
610 2 4 _aมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี
_bคณะเทคโนโลยีการเกษตร
_xวิจัย.
_9201397
610 2 4 _aมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
_bสถาบันพัฒนาและฝึกอบรมโรงงานต้นแบบ
_xวิจัย.
_9201398
650 4 _aเพคติน.
_9201389
650 4 _aทุเรียน.
_9201403
650 4 _aทุเรียน
_xการใช้ปรุงอาหาร.
_9201400
650 4 _aแยม.
_9149288
650 4 _aเยลลี่.
_9149252
650 4 _aการสกัด (เคมี).
_9201404
700 0 _aจิรพร สวัสดิการ.
_9201405
700 0 _aรุ่งทิวา สุวรรณรัตน์.
_9201406
773 _tวารสารวิจัยรำไพพรรณี
_g13,2 (พ.ค.- ส.ค. 2562) 25-37
850 _aเอกสารภาษาไทย (ชั้น 5)
856 _uhttps://so05.tci-thaijo.org/index.php/RRBR/article/view/208094/144333
942 _2lcc
999 _c158238
_d158238