000 04658nab a22002777a 4500
008 230308b2564 ||||| |||| 00| 0 tha d
022 _a2774-0544Z (online)
100 _aพรทวี ธนสัมบัณณ์.
_9208935
245 0 0 _aการใช้ประโยชน์ข้าวไรซ์เบอรี่ในผลิตภัณฑ์ขนมเปี๊ยะกุหลาบไส้ถั่วเสริมเยื่อฟักข้าว [Electronic resources]/
_cพรทวี ธนสัมบัณณ์ และคนอื่น ๆ
500 _aElectronic resources ไม่มีตัวเล่ม
518 _a20230308
520 _aการวิจัยครั้งนี้ เป็นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมเปี๊ยะกุหลาบโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ และเป็นการเพิ่มมูลค่าวัตถุดิบท้องถิ่น พบว่าขนมเปี๊ยะกุหลาบที่มีการยอมรับสูงสุด มีส่วนผสมของแป้งสาลีอเนกประสงค์ แป้งสาลีบัวแดง น้ำตาลทรายขาว น้ำเปล่า น้ำมันพืช และเกลือ (95, 190, 60, 110, 75 และ 3กรัม ตามลำดับ) มีค่าคะแนนเฉลี่ยในด้านลักษณะปรากฏ สี กลิ่น รสชาติ ความนุ่ม และความชอบโดยรวม เท่ากับ 7.63±0.92, 7.80±0.80, 7.55±0.93, 7.63±0.89, 7.83±0.91และ 7.87±0.86 คะแนน ตามลำดับจากนั้นทดแทนแป้งข้าวไรซ์เบอรี่ในปริมาณที่แตกต่างกัน 4 ระดับ คือ ร้อยละ 15, 30, 45 และ 60 พบว่าที่ร้อยละ 45 ได้รับการยอมรับสูงสุด มีค่าคะแนนเฉลี่ยในด้านลักษณะปรากฏ สี กลิ่น รสชาติ ความนุ่ม และความชอบโดยรวม เท่ากับ 7.34±0.93, 7.50±0.88, 7.52±0.93, 7.50±0.99, 7.50±0.78 และ 7.72±0.88คะแนน ตามลำดับ และศึกษาไส้ถั่วกวน พบว่าไส้ถั่วกวนตำรับที่ได้รับการยอมรับสูงสุด มีส่วนผสม ได้แก่ ถั่วเขียวเลาะเปลือก กะทิ น้ำตาลทรายขาว และเกลือ (375, 500, 350 และ 5 กรัม ตามลำดับ) โดยมีค่าคะแนนเฉลี่ยความเป็นเนื้อเดียวกัน สี กลิ่น รสชาติ ความนุ่ม และความชอบโดยรวม เท่ากับ 7.56±0.92, 7.60±0.78, 7.66±0.89, 7.74±0.94, 7.70±0.83 และ 7.70±0.68 คะแนน ตามลำดับ จากนั้นเสริมเยื่อฟักข้าว พบว่าการเสริมฟักข้าวที่ร้อยละ 15 ได้รับการยอมรับสูงสุด มีค่าคะแนนความชอบโดยรวมเท่ากับ 7.86±0.80 คะแนน
648 _aFOOD66M03
_9208476
650 4 _aผลิตภัณฑ์อาหาร.
_9208936
650 4 _aเบเกอรี.
_9157276
650 4 _aการปรุงอาหาร (แป้งข้าวเจ้า).
_9208937
700 0 _aบุญญาพร เชื่อมสมพงษ์.
_9208938
700 0 _aมนฤทัย ศรีทองเกิด.
_9208939
700 0 _aณัชฌา พันธุ์วงษ์.
_9208940
700 0 _aอรอนงค์ ทองมี.
_9208941
700 0 _aณัฐดนัย พันธุ์สถิตย์.
_9208942
700 0 _aพนิดา ครุฑวงษ์.
_9208943
773 _tวารสารวัฒนธรรมอาหารไทย
_g4, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2564) 8-21
850 _aเอกสารภาษาไทย (ชั้น 5)
942 _2lcc
999 _c159841
_d159841