องค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระของน้ำมันหอมระเหยขิง / (Record no. 141581)

MARC details
000 -LEADER
fixed length control field 04877nab a2200217 a 4500
001 - CONTROL NUMBER
control field 000144024
008 - FIXED-LENGTH DATA ELEMENTS--GENERAL INFORMATION
fixed length control field 160603 2558 th 000 0 tha d
039 #9 - LEVEL OF BIBLIOGRAPHIC CONTROL AND CODING DETAIL [OBSOLETE]
Level of rules in bibliographic description 201702091529
Level of effort used to assign nonsubject heading access points VLOAD
Level of effort used to assign subject headings 201611151724
Level of effort used to assign classification VLOAD
Level of effort used to assign subject headings 201608011101
Level of effort used to assign classification natnaree
Level of effort used to assign subject headings 201606101221
Level of effort used to assign classification vanut
-- 201606031559
-- fl5_book
245 10 - TITLE STATEMENT
Title องค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระของน้ำมันหอมระเหยขิง /
Statement of responsibility, etc. วทันยา ลิมปพยอม และคนอื่นๆ
518 ## - DATE/TIME AND PLACE OF AN EVENT NOTE
Date/time and place of an event note YJ2016 M10
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. งานวิจัยนี้ศึกษาองค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระของน้ำมันหอมระเหยจากขิงอ่อนและขิงแก่พันธุ์ไทยที่ได้จากการสกัดด้วยวิธีต้มกลั่นและการสกัดด้วยเอทานอล น้ำมันหอมระเหยจากขิงอ่อนและขิงแก่ที่ได้จากการต้มกลั่นและ absolute จากการสกัดด้วยเอทานอลมีค่าดัชนีการหักเหคลื่นแสงระหว่าง 1.348-1.500 เมื่อวิเคราะห์สารหอมระเหยด้วยเครื่องแก๊สโครมาโทกราฟี-แมสสเปกโตรมิเตอร์ พบว่าการสกัดน้ำมันหอมระเหยด้วยวิธีการต้มกลั่น ทั้งจากขิงอ่อนสดและขิงแก่สดมี zingiberene มากที่สุด โดยมี %relative peak area เท่ากับ 16.52 และ 20.30 ตามลำดับ น้ำมันหอมระเหยจากขิงอ่อนแห้งมี camphene มากที่สุด และน้ำมันหอมระเหยจากขิงแก่แห้งมี geranial มากที่สุด ส่วน absolute ที่สกัดด้วยเอทานอลพบว่า absolute ขิงอ่อนแห้งและขิงแก่แห้งมี zingiberene มากที่สุด โดยมี %relative peak area เท่ากับ 31.81 และ 36.50 ตามลำดับ และพบ gingerol ใน absolute ขิงอ่อนแห้งมากกว่าขิงแก่แห้ง น้ำมันหอมระเหยจากขิงแก่สดจากการต้มกลั่นมีประสิทธิภาพในการต้านอนุมูลอิสระ 2, 2-diphenyl-1-picrylhydrazyl (DPPH) สูงที่สุด โดยมีค่า %scavenging effect เท่ากับ 97.16% รองลงมาคือ น้ำมันหอมระเหยจากขิงแก่แห้งจากการต้มกลั่น 88.79% และ absolute ขิงแก่แห้งที่สกัดด้วยเอทานอล 84.81 % ส่วนความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระ ไฮดรอกซิลของน้ำมันหอมระเหยจากขิงแก่แห้งจากการต้มกลั่นมีค่ามากที่สุด คือ 99.18% รองลงมา คือ น้ำมันหอมระเหยจากขิงแก่สดที่ได้จากการต้มกลั่น 82.54% และ absolute ขิงแก่แห้งที่สกัดด้วยเอทานอล 76.00 % แต่น้ำมันหอมระเหยและ absolute จากขิงอ่อนมีประสิทธิสูงกว่า 80 % ในการต้านอนุมูลอิสระ DPPH และอนุมูลอิสระไฮดรอกซิล.
648 ## - SUBJECT ADDED ENTRY--CHRONOLOGICAL TERM
Chronological term SPV59M06
9 (RLIN) 179263
648 ## - SUBJECT ADDED ENTRY--CHRONOLOGICAL TERM
Chronological term FOOD59M06
9 (RLIN) 179012
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element ขิง
General subdivision สารต้านอนุมูลอิสระ
-- วิจัย.
9 (RLIN) 101427
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element ขิง
General subdivision สรรพคุณทางยา.
9 (RLIN) 5312
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element น้ำมันหอมระเหย
General subdivision ขิง
-- วิจัย.
9 (RLIN) 140630
700 0# - ADDED ENTRY--PERSONAL NAME
Personal name วทันยา ลิมปพยอม
9 (RLIN) 140631
773 ## - HOST ITEM ENTRY
Title วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ.
Related parts 37, 3 (ก.ค.-ก.ย. 2557) 297-312
International Standard Serial Number 0125-278X
942 ## - ADDED ENTRY ELEMENTS (KOHA)
Koha item type Articles

No items available.