กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์สร้างความมั่นใจแก่ผู้บริโภคน้ำปลาไทยได้มาตรฐานและมีความปลอดภัย / สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร.

By: สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหารMaterial type: ArticleArticleSubject(s): FOOD62M04 | น้ำปลา | น้ำปลา -- มาตรฐาน In: จดหมายข่าวกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 32, 11 (พ.ย. 2561) 4Summary: กรมวิทยาศาสตร์บริการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพน้ำปลาไทยอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภคน้ำปลาไทยว่าได้มาตรฐานและมีความปลอดภัยจากสารพิษโบทูลินัม (botulinum toxin) จากเชื้อแบคทีเรีย คลอสตริเดียม โบทูลินัม (Clostridium botulinum) และสารฮีสตามีน (histamine) ซึ่งจากการรายงานผลการสำรวจการปนเปื้อนสารพิษของน้ำลา 48 ตัวอย่าง ในปี 2560 ไม่พบสารพิษโบทูลินัมและเชื้อคลอสตริเดียม โบทูลินัม ในทุกตัวอย่าง ในปี 2559-2561 ตรวจพบสารฮีสตามีน ในน้ำปลาแท้ มีค่าเฉลี่ย 112 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม โดยค่ามาตรฐานที่ประเทศไทยกำหนดให้มีปริมาณสารฮีสตามีนได้ไม่เกิน 400 มิลลิกรัมต่อ 100 กรัม (เทียบเท่ากับ 400 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ซึ่งเท่ากับมาตรฐานของสหภาพยุโรป.
No physical items for this record

YJ2019 M04

กรมวิทยาศาสตร์บริการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพน้ำปลาไทยอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภคน้ำปลาไทยว่าได้มาตรฐานและมีความปลอดภัยจากสารพิษโบทูลินัม (botulinum toxin) จากเชื้อแบคทีเรีย คลอสตริเดียม โบทูลินัม (Clostridium botulinum) และสารฮีสตามีน (histamine) ซึ่งจากการรายงานผลการสำรวจการปนเปื้อนสารพิษของน้ำลา 48 ตัวอย่าง ในปี 2560 ไม่พบสารพิษโบทูลินัมและเชื้อคลอสตริเดียม โบทูลินัม ในทุกตัวอย่าง ในปี 2559-2561 ตรวจพบสารฮีสตามีน ในน้ำปลาแท้ มีค่าเฉลี่ย 112 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม โดยค่ามาตรฐานที่ประเทศไทยกำหนดให้มีปริมาณสารฮีสตามีนได้ไม่เกิน 400 มิลลิกรัมต่อ 100 กรัม (เทียบเท่ากับ 400 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ซึ่งเท่ากับมาตรฐานของสหภาพยุโรป.

There are no comments on this title.

to post a comment.