การผลิตเค้กลูกชุบจากแป้งปลายข้าวหอมมะลิไทย Production of look choub cake from broken thai jasmine rice flour [Electronic resource] / นรินทร์ เจริญพันธ์.

By: นรินทร์ เจริญพันธ์Material type: ArticleArticleSubject(s): มหาวิทยาลัยบูรพา คณะเทคโนโลยีการเกษตร -- วิจัย | FOOD64M08 | เค้ก | เค้กข้าว | ข้าว -- การใช้ปรุงอาหาร | ข้าว -- การแปรรูป | อาหาร -- การประเมินลักษณะทางประสาทสัมผัสOnline resources: Click here to access online In: วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 27, 5 (ก.ย.- ต.ค. 2562) 915-923Summary: ปลายข้าวเป็นผลพลอยได้จากการสีข้าวมีโปรตีนสูง ไขมัน และใยอาหารต่ำ วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพือศึกษาอัตราส่วนที เหมาะสมของแป้งจากปลายข้าวและเนื้อลำไยสดต่อคุณภาพของเค้ก วิเคราะห์ค่าปริมาตร วัดค่าวอเตอร์แอคทีวิตี้ ค่าสี และการยอมรับทางประสาทสัมผัสของผู้บริโภคที ไม่ผ่านการฝึกฝนจ่านวน 30 คน พบว่า ค่าปริมาตรของเค้กแปรผันตรงกับปริมาณแป้งจากปลายข้าว โดยสูตรที มีปริมาณเนื้อล่าไยสดปั่นละเอียดมากทีสุด มีค่าวอเตอร์แอคทีวิตี้สูง และค่าความสว่าง (L*) ที สุดต่ำ สูตรที่เหมาะสมในการผลิตเค้กประกอบด้วยแป้งปลายข้าวหอมมะลิไทย เนื้อลำไยสด นมสด ผงฟู ยีสต์ เนยสดชนิดเค็ม น้ำตาลทรายขาว และไข่ไก่เท่ากับ 75, 25, 60, 1.5, 1.5, 20, 40 และ 20 กรัม ตามลำดับ โดยคะแนนเฉลียจากการประเมินทางประสาทสัมผัสด้านรสชาติ เนื้อสัมผัส และความชอบรวมสูงทีสุด เมื่อนำไปพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เค้กลูกชุบ และทดสอบความชอบกับผู้บริโภคที ไม่ผ่านการฝึกฝนจ่านวน 100 คน พบว่า มีคะแนนเฉลียด้านความชอบรวม (7.88 คะแนน) อยู่ในระดับชอบปานกลาง โดยภาพรวมเค้กลูกชุบจากแป้งปลายข้าวหอมมะลิไทยเป็นผลิตภัณฑ์ทีน่าสนใจ สามารถน่าไปพัฒนาต่อยอดสู่การผลิตในระดับอุตสาหกรรม
No physical items for this record

YJ2021 M09

ปลายข้าวเป็นผลพลอยได้จากการสีข้าวมีโปรตีนสูง ไขมัน และใยอาหารต่ำ วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพือศึกษาอัตราส่วนที เหมาะสมของแป้งจากปลายข้าวและเนื้อลำไยสดต่อคุณภาพของเค้ก วิเคราะห์ค่าปริมาตร วัดค่าวอเตอร์แอคทีวิตี้ ค่าสี และการยอมรับทางประสาทสัมผัสของผู้บริโภคที ไม่ผ่านการฝึกฝนจ่านวน 30 คน พบว่า ค่าปริมาตรของเค้กแปรผันตรงกับปริมาณแป้งจากปลายข้าว โดยสูตรที มีปริมาณเนื้อล่าไยสดปั่นละเอียดมากทีสุด มีค่าวอเตอร์แอคทีวิตี้สูง และค่าความสว่าง (L*) ที สุดต่ำ สูตรที่เหมาะสมในการผลิตเค้กประกอบด้วยแป้งปลายข้าวหอมมะลิไทย เนื้อลำไยสด นมสด ผงฟู ยีสต์ เนยสดชนิดเค็ม น้ำตาลทรายขาว และไข่ไก่เท่ากับ 75, 25, 60, 1.5, 1.5, 20, 40 และ 20 กรัม ตามลำดับ โดยคะแนนเฉลียจากการประเมินทางประสาทสัมผัสด้านรสชาติ เนื้อสัมผัส และความชอบรวมสูงทีสุด เมื่อนำไปพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เค้กลูกชุบ และทดสอบความชอบกับผู้บริโภคที ไม่ผ่านการฝึกฝนจ่านวน 100 คน พบว่า มีคะแนนเฉลียด้านความชอบรวม (7.88 คะแนน) อยู่ในระดับชอบปานกลาง โดยภาพรวมเค้กลูกชุบจากแป้งปลายข้าวหอมมะลิไทยเป็นผลิตภัณฑ์ทีน่าสนใจ สามารถน่าไปพัฒนาต่อยอดสู่การผลิตในระดับอุตสาหกรรม

There are no comments on this title.

to post a comment.