การปรับสมดุลไมโครไบโอมจุลินทรีย์ลำไส้ในร่างกายมนุษย์ด้วยเครื่องเทศและสมุนไพรในอาหาร [Electronic resource] / จุฑามาศ กลิ่นโซดา.

By: จุฑามาศ กลิ่นโซดาMaterial type: ArticleArticleSubject(s): มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร | FOOD66M02 | เครื่องเทศ | การปรุงอาหาร (เครื่องเทศ) | สมุนไพร In: วารสารอาหาร 52, 1 (ม.ค.-มี.ค. 2565) 5-15Summary: เครื่องเทศและสมุนไพรที่นิยมใช้เป็นอาหาร อาหารเสริม สารสกัด และยาสมุนไพร จัดว่าเป็นแหล่งของ สารประกอบไฟโตเคมิคอล (phytochemicals) ที่มีประโยชน์ต่อร่างกายและเป็นอาหารแก่จุลินทรียในร่างกาย ตัวอย่างเครื่องเทศและสมุนไพรที่มีงานวิจัยยืนยันการใช้ประโยชน์และได้รับความนิยมไปทั่วโลก จํานวน 10 ชนิด ได้แก่ ขมิ้นชัน (turmeric) ยี่หร่า (cumin) เปปเปอร์มิ้น (peppermint) ขิง (ginger) ดอกอิชิเนเชีย (echinacea) อบเชย (cinnamon) พริก (chili) พาร์สลีย์ (parsley) ออริกาโน (oregano) และกระวาน (cardamom) โดย สารประกอบไฟโตเคมิคอลในเครื่องเทศและสมุนไพรบางชนิดส่งผลต่อกิจกรรมของจุลินทรีย์ลําไส้ ทําให้เสริมสร้าง หน้าที่การปกป้องตนเองของลําไส้ (intestinal barrier function) และการตอบสนองระบบภูมิคุ้มกัน (immune response) ดังนั้นการรับประทานเครื่องเทศและสมุนไพรที่เป็นแหล่งของเส้นใยและไฟโตเคมิคอล (phytochemicals) ในปริมาณที่เหมาะสม จึงเปนวิธีหนึ่งที่สามารถปรับเปลี่ยนสมดุลของไมโครไบโอมจุลินทรีย์ ลําไส้ได้ เพื่อให้มีการเติบโตของแบคทีเรียโปรไบโอติกกลุ่ม Lactobacillus หรือ Bifidobacterium อีกทั้งการมีอัตราส่วนของจุลินทรีย์ในไฟลัม Firmicutes และ Bacteroidetes ที่สมดุล จะช่วยให้มนุษย์มีสุขภาพดีและลดโอกาสการเกิดโรคต่าง ๆ ได้ เช่น โรคอ้วนและโรคลําไส้อักเสบเรื้อรัง
No physical items for this record

20230212

เครื่องเทศและสมุนไพรที่นิยมใช้เป็นอาหาร อาหารเสริม สารสกัด และยาสมุนไพร จัดว่าเป็นแหล่งของ สารประกอบไฟโตเคมิคอล (phytochemicals) ที่มีประโยชน์ต่อร่างกายและเป็นอาหารแก่จุลินทรียในร่างกาย ตัวอย่างเครื่องเทศและสมุนไพรที่มีงานวิจัยยืนยันการใช้ประโยชน์และได้รับความนิยมไปทั่วโลก จํานวน 10 ชนิด ได้แก่ ขมิ้นชัน (turmeric) ยี่หร่า (cumin) เปปเปอร์มิ้น (peppermint) ขิง (ginger) ดอกอิชิเนเชีย (echinacea) อบเชย (cinnamon) พริก (chili) พาร์สลีย์ (parsley) ออริกาโน (oregano) และกระวาน (cardamom) โดย สารประกอบไฟโตเคมิคอลในเครื่องเทศและสมุนไพรบางชนิดส่งผลต่อกิจกรรมของจุลินทรีย์ลําไส้ ทําให้เสริมสร้าง หน้าที่การปกป้องตนเองของลําไส้ (intestinal barrier function) และการตอบสนองระบบภูมิคุ้มกัน (immune response) ดังนั้นการรับประทานเครื่องเทศและสมุนไพรที่เป็นแหล่งของเส้นใยและไฟโตเคมิคอล (phytochemicals) ในปริมาณที่เหมาะสม จึงเปนวิธีหนึ่งที่สามารถปรับเปลี่ยนสมดุลของไมโครไบโอมจุลินทรีย์ ลําไส้ได้ เพื่อให้มีการเติบโตของแบคทีเรียโปรไบโอติกกลุ่ม Lactobacillus หรือ Bifidobacterium อีกทั้งการมีอัตราส่วนของจุลินทรีย์ในไฟลัม Firmicutes และ Bacteroidetes ที่สมดุล จะช่วยให้มนุษย์มีสุขภาพดีและลดโอกาสการเกิดโรคต่าง ๆ ได้ เช่น โรคอ้วนและโรคลําไส้อักเสบเรื้อรัง

There are no comments on this title.

to post a comment.