มทร. ธัญบุรี เจ๋ง ผลิต ''น้ำส้มสายชูหมัก'' จากกากสาโทเหลือทิ้งช่วยโอท็อป ปทุมธานี / อลงกรณ์ รัตตะเวทิน.

By: อลงกรณ์ รัตตะเวทินMaterial type: ArticleArticleSubject(s): มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี | FOOD63M06 | น้ำส้มสายชู | ข้าว -- การหมัก | อาหาร | ข้าว -- วัสดุเหลือใช้ -- การใช้ประโยชน์ | วัสดุเหลือใช้จากพืชเศรษฐกิจ In: เทคโนโลยีชาวบ้าน 32, 713 (15 ก.พ. 2563) 116-117Summary: นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ได้ศึกษาวิจัยการใช้ประโยชน์จากกากสาโทเหลือทิ้ง เพื่อผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าวด้วยปฏิกรณ์ชีวภาพประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ 1.ศึกษาคุณสมบัติของกากสาโทและนำสาโทเหลือทิ้งด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี 2.ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตกรดอะซิติก ความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ ปริมาณกรดอะซิติก วิเคราะห์ความเข้มข้นของกรดอะซิติกและจำนวนแบคทีเรียหลังการหมัก 3.การทดสอบทางประสาทสัมผัส 4.ทดสอบประสิทธิภาพการผลิตกรดอะซิติกในระดับต้นแบบ และ5.ทดสอบการยอมรับผลิตภัณฑ์จากการทดสอบผู้บริโภค 100 คน โดยยอมรับในระดับมากร้อยละ 50 ในระดับมากที่สุด ร้อยละ 28 และในระดับปานกลางร้อยละ 22 ซึ่งน้ำส้มสายชูหมักจากข้าวนี้เป็นเครื่องดื่มประเภทเฮลท์ตี้ดริงก์ ช่วยทำให้ร่างกายสดชื่น รวมถึงช่วยให้ระบบย่อยอาหารทำงานได้ดี.
No physical items for this record

YJ2020 M05

นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ได้ศึกษาวิจัยการใช้ประโยชน์จากกากสาโทเหลือทิ้ง เพื่อผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าวด้วยปฏิกรณ์ชีวภาพประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ 1.ศึกษาคุณสมบัติของกากสาโทและนำสาโทเหลือทิ้งด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี 2.ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตกรดอะซิติก ความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ ปริมาณกรดอะซิติก วิเคราะห์ความเข้มข้นของกรดอะซิติกและจำนวนแบคทีเรียหลังการหมัก 3.การทดสอบทางประสาทสัมผัส 4.ทดสอบประสิทธิภาพการผลิตกรดอะซิติกในระดับต้นแบบ และ5.ทดสอบการยอมรับผลิตภัณฑ์จากการทดสอบผู้บริโภค 100 คน โดยยอมรับในระดับมากร้อยละ 50 ในระดับมากที่สุด ร้อยละ 28 และในระดับปานกลางร้อยละ 22 ซึ่งน้ำส้มสายชูหมักจากข้าวนี้เป็นเครื่องดื่มประเภทเฮลท์ตี้ดริงก์ ช่วยทำให้ร่างกายสดชื่น รวมถึงช่วยให้ระบบย่อยอาหารทำงานได้ดี.

There are no comments on this title.

to post a comment.