ผลของปัจจัยเดี่ยวในการสกัดโดยใช้คลื่นอัลตราซาวด์ต่อสมบัติการต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากใบเจียวกู่หลาน Effect of single-factor by ultrasound-assisted extraction on antioxidant properties of extract from jiaogulan (Gynostemma pentaphyllum) leaves [Electronic resource] / พิชานันท์ ขําขยัน และ กิติพงศ์ อัศตรกุล.

By: พิชานันท์ ขําขยันContributor(s): กิติพงศ์ อัศตรกุลMaterial type: ArticleArticleSubject(s): จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิทยาศาสตร์ -- วิจัย | อนุมูลอิสระ | สารสกัด | สารสกัดจากพืช | เอทานอล | ฟีนอลิก | แอนโทไซยานินส์ | พืชสมุนไพร | PHENOLIC | FLAVONOID | ANTIOXIDANTOnline resources: Click here to access online In: วารสารเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม 16, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2564) 95-108Summary: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของปัจจัยเดี่ยวในการสกัดด้วยคลื่นอัลตราซาวด์ต่อสมบัติการต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากใบเจียวกู่ลานโดยแปรระดับความเข้มข้นของเอทานอล (ร้อยละ 50-90 (v/v)) อัตราส่วนของแข็งต่อของเหลว (1:20-1:60 g/mL) เวลาในการสกัด (10-50 นาที) และความเข้มของแอมพลิจูด (ร้อยละ 30-70) จากผลการทดลองพบว่า ปัจจัยเดี่ยวทั้งหมดมีผลต่อการสกัดอย่างมีนัยสําคัญ (p≤0.05) การเพิ่มขึ้นของความเข้มข้นของเอทานอลอัตราส่วนของเหลวต่อของแข็งเวลาในการสกัดและความเข้มของแอมพลิจูด ส่งผลให้สารสกัดมีสมบัติการต้านอนุมูลอิสระเพิ่มขึ้น ซึ่งภาวะที่ดีที่สุดในการสกัดคือการสกัดด้วยตัวทําละลายเอทานอลความเข้มข้นร้อยละ 70 (v/v) อัตราส่วนของแข็งต่อของเหลว 1:50 g/mL เวลาสกัด 20 นาที และความเข้มของแอมพลิจูดร้อยละ 40 สารสกัดที่ได้จากภาวะดังกล่าวมีปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด ปริมาณฟลาโวนอยด์ทั้งหมด และฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี 2, 2-diphenyl-1-picrylhydrazyl (DPPH) และ ferric ion reducing antioxidant power (FRAP) เท่ากับ 405.17 mg gallic acid equivalent (GAE)/100 g dry wt.,2.59 mg quercetin equivalent (QCE)/100 g dry wt.,1881.07 uM trolox/100 g dry wt. และ 2838.15 uM trolox/100 g dry wt. ตามลําดับ
No physical items for this record

YJ2021 M08

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของปัจจัยเดี่ยวในการสกัดด้วยคลื่นอัลตราซาวด์ต่อสมบัติการต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากใบเจียวกู่ลานโดยแปรระดับความเข้มข้นของเอทานอล (ร้อยละ 50-90 (v/v)) อัตราส่วนของแข็งต่อของเหลว (1:20-1:60 g/mL) เวลาในการสกัด (10-50 นาที) และความเข้มของแอมพลิจูด (ร้อยละ 30-70) จากผลการทดลองพบว่า ปัจจัยเดี่ยวทั้งหมดมีผลต่อการสกัดอย่างมีนัยสําคัญ (p≤0.05) การเพิ่มขึ้นของความเข้มข้นของเอทานอลอัตราส่วนของเหลวต่อของแข็งเวลาในการสกัดและความเข้มของแอมพลิจูด ส่งผลให้สารสกัดมีสมบัติการต้านอนุมูลอิสระเพิ่มขึ้น ซึ่งภาวะที่ดีที่สุดในการสกัดคือการสกัดด้วยตัวทําละลายเอทานอลความเข้มข้นร้อยละ 70 (v/v) อัตราส่วนของแข็งต่อของเหลว 1:50 g/mL เวลาสกัด 20 นาที และความเข้มของแอมพลิจูดร้อยละ 40 สารสกัดที่ได้จากภาวะดังกล่าวมีปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด ปริมาณฟลาโวนอยด์ทั้งหมด และฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี 2, 2-diphenyl-1-picrylhydrazyl (DPPH) และ ferric ion reducing antioxidant power (FRAP) เท่ากับ 405.17 mg gallic acid equivalent (GAE)/100 g dry wt.,2.59 mg quercetin equivalent (QCE)/100 g dry wt.,1881.07 uM trolox/100 g dry wt. และ 2838.15 uM trolox/100 g dry wt. ตามลําดับ

There are no comments on this title.

to post a comment.