ทดแทนความเค็มที่หายไป ด้วยสารเพิ่มรสชาติ / จุฑาวุฒิ อุชุปัจ และวิไลลักษณ์ ชยประเสริฐ.

By: จุฑาวุฒิ อุชุปัจContributor(s): วิไลลักษณ์ ชยประเสริฐMaterial type: ArticleArticleSubject(s): FOOD65M04 | อาหาร | ความเค็ม | ผงชูรส | อาหาร -- ปริมาณโซเดียม In: FOOD FOCUS THAILAND 16, 188 (Nov. 2021) 50-51 Summary: การลดปริมาณโซเดียมในอาหาร อาจส่งผลต่อคุณภาพและคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ การทดแทนโซเดียมด้วยเกลือคลอไรด์ชนิดอื่น เช่น เกลือโพแทสเซียม เป็นวิธีการที่ผู้ผลิตนำมาประยุกต์ใช้ แต่มีข้อจำกัดเนื่องจากมีรสขมและความเสี่ยงต่อสุขภาพจากการบริโภคโพแทสเซียมในปริมาณสูง การศึกษาวิจัยความสัมพันธ์ของการรับรสชาติพบว่า การเติมรสอูมามิลงในอาหารที่ลดโซเดียม จะช่วยให้ผู้บริโภครับรสเค็มได้มากขึ้น ปัจจุบันสารเพิ่มรสชาติจากธรรมชาติ (Natural flavor enhancer) จึงเป็นทางเลือกสำหรับผุ้ผลิตอาหารในการลดปริมาณโซเดียม โดยผลิตภัณฑ์กลุ่มผงซุปผัก สารสกัดจากยีสต์ หรือโปรตีนผักไฮโดรไลซ์ (Hydrolyzed vegetable protein, HVP)ที่มีส่วนประกอบของสารที่ให้รสอูมามิอย่างกลูตาเมต (Glutamate) หรือสารกลุ่มนิวคลีโอไทด์อย่างอินโนซิเนต (Inosinate) และกัวไนเลต (Guanylate) จึงเป็นทางเลือกที่ดีกว่าในการปรับลดปริมาณโซเดียมในสูตรอาหารและเพิ่มกลิ่น รสของอาหารได้
No physical items for this record

YJ2022 M02

การลดปริมาณโซเดียมในอาหาร อาจส่งผลต่อคุณภาพและคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ การทดแทนโซเดียมด้วยเกลือคลอไรด์ชนิดอื่น เช่น เกลือโพแทสเซียม เป็นวิธีการที่ผู้ผลิตนำมาประยุกต์ใช้ แต่มีข้อจำกัดเนื่องจากมีรสขมและความเสี่ยงต่อสุขภาพจากการบริโภคโพแทสเซียมในปริมาณสูง การศึกษาวิจัยความสัมพันธ์ของการรับรสชาติพบว่า การเติมรสอูมามิลงในอาหารที่ลดโซเดียม จะช่วยให้ผู้บริโภครับรสเค็มได้มากขึ้น ปัจจุบันสารเพิ่มรสชาติจากธรรมชาติ (Natural flavor enhancer) จึงเป็นทางเลือกสำหรับผุ้ผลิตอาหารในการลดปริมาณโซเดียม โดยผลิตภัณฑ์กลุ่มผงซุปผัก สารสกัดจากยีสต์ หรือโปรตีนผักไฮโดรไลซ์ (Hydrolyzed vegetable protein, HVP)ที่มีส่วนประกอบของสารที่ให้รสอูมามิอย่างกลูตาเมต (Glutamate) หรือสารกลุ่มนิวคลีโอไทด์อย่างอินโนซิเนต (Inosinate) และกัวไนเลต (Guanylate) จึงเป็นทางเลือกที่ดีกว่าในการปรับลดปริมาณโซเดียมในสูตรอาหารและเพิ่มกลิ่น รสของอาหารได้

There are no comments on this title.

to post a comment.