แนวทางและนวัตกรรมการลดการบริโภคเกลือและโซเดียม / รวิพร พลพืช.

By: รวิพร พลพืชMaterial type: ArticleArticleSubject(s): FOOD66M01 | อาหาร | ผลิตภัณฑ์อาหาร | เกลือ | โซเดียม | อาหาร -- ปริมาณโซเดียม | ผลิตภัณฑ์อาหาร -- ปริมาณโซเดียม | ความเค็ม | อาหารโซเดียมต่ำ In: FOOD FOCUS THAILAND 17, 201 (Dec. 2022) 46-49 Summary: จากผลการสำรวจปริมาณการบริโภคเกลือโซเดียมในประเทศไทยเมื่อปี 2564 พบว่า คนไทยอายุ 18-29 ปี บริโภคโซเดียมสูงที่สุด คิดเป็น 3,797.4 มิลลิกรัม หรือโดยเฉลี่ย 3,500 มิลลิกรัมในทุกช่วงวัย ซึ่งมากกว่าปริมาณที่องค์การอนามัยโลกแนะนำต่อวัน คือ 2,000 มิลลิกรัม เกือบ 2 เท่า โดยการบริโภคโซเดียมที่มากเกินไปนั้นเพิ่มโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่าง ๆ เช่น ภาวะความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคไตเรื้อรัง ซึ่งนำไปสู่อันตรายจนถึงชีวิตได้ ด้วยเหตุนี้แนวทางการส่งเสริมให้ลดการบริโภคเกลือโซเดียมจึงเป็นภารกิจสำคัญระดับประเทศเพื่อให้ทุกคนมีสุขภาพดีและลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) โดยมีเป้าหมายในการลดการบริโภคเกลือโซเดียมให้ได้ร้อยละ 30 ภายในปี 2568 ซึ่งแนวทางในการลดการบริโภคเกลือและโซเดียมสามารถเริ่มได้จากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค หลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสเค็มมากเกินพอดี หรือใช้เทคนิคในการลดโซเดียมในผลิตภัณฑ์อาหาร ใช้สารเสริมกลิ่นรส ใช้นวัตกรรมภาชนะเพิ่มความเค็ม ช้อน และชามเพิ่มความเค็มด้วยกระแสไฟฟ้า เป็นต้น
No physical items for this record

YJ2023 M02

จากผลการสำรวจปริมาณการบริโภคเกลือโซเดียมในประเทศไทยเมื่อปี 2564 พบว่า คนไทยอายุ 18-29 ปี บริโภคโซเดียมสูงที่สุด คิดเป็น 3,797.4 มิลลิกรัม หรือโดยเฉลี่ย 3,500 มิลลิกรัมในทุกช่วงวัย ซึ่งมากกว่าปริมาณที่องค์การอนามัยโลกแนะนำต่อวัน คือ 2,000 มิลลิกรัม เกือบ 2 เท่า โดยการบริโภคโซเดียมที่มากเกินไปนั้นเพิ่มโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่าง ๆ เช่น ภาวะความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคไตเรื้อรัง ซึ่งนำไปสู่อันตรายจนถึงชีวิตได้ ด้วยเหตุนี้แนวทางการส่งเสริมให้ลดการบริโภคเกลือโซเดียมจึงเป็นภารกิจสำคัญระดับประเทศเพื่อให้ทุกคนมีสุขภาพดีและลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) โดยมีเป้าหมายในการลดการบริโภคเกลือโซเดียมให้ได้ร้อยละ 30 ภายในปี 2568 ซึ่งแนวทางในการลดการบริโภคเกลือและโซเดียมสามารถเริ่มได้จากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค หลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสเค็มมากเกินพอดี หรือใช้เทคนิคในการลดโซเดียมในผลิตภัณฑ์อาหาร ใช้สารเสริมกลิ่นรส ใช้นวัตกรรมภาชนะเพิ่มความเค็ม ช้อน และชามเพิ่มความเค็มด้วยกระแสไฟฟ้า เป็นต้น

There are no comments on this title.

to post a comment.